คณิตศาสตร์ ม.4-.ม.5 -ม.6 ตามหลักสูตรของ สสวท. (หลักสูตรใหม่ ฉบับปรับปรุงปี 2560) ซึ่งเป็นหลักสูตรอัพเดทล่าสุด และใช้มาจนถึงปีปัจจุบัน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (เลขหลัก)
บทที่ 1 เซต
1.1 เซต
1.2 การดำเนินการระหว่างเซต
1.3 การแก้ปัญหาโดยใช้เซต
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์
2.1 ประพจน์
2.2 การเชื่อมประพจน์
บทที่ 3 หลักการนับเบื้องต้น
3.1 หลักการบวกและหลักการคูณ
3.2 การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด
3.3 การจัดหมู่สิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด
บทที่ 4 ความน่าจะเป็น
4.1 การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
4.2 ความน่าจะเป็น
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (เลขเสริม) เล่มที่ 1
บทที่ 1 เซต
1.1 เซต
1.2 การดำเนินการระหว่างเซต
1.3 การแก้ปัญหาโดยใช้เซต
บทที 2 ตรรกศาสตร์
2.1 ประพจน์
2.2 การเชื่อมประพจน์
2.3 การหาค่าความจริงของประพจน์
2.4 การสร้างตารางค่าความจริง
2.5 รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน
2.6 สัจนิรันดร์
2.7 การอ้างเหตุผล
2.8 ประโยคเปิด
2.9 ตัวบ่งปริมาณ
2.10 ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณตัวเดียว
2.11 สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ
บทที่ 3 จำนวนจริง
3.1 จำนวนจริง
3.2 ระบบจำนวนจริง
3.3 พหุนามตัวแปรเดียว
3.4 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
3.5 สมการพหุนามตัวแปรเดียว
3.6 เศษส่วนของพหุนาม
3.7 สมการเศษส่วนของพหุนาม
3.8 การไม่เท่ากันของจำนวนจริง
3.9 อสมการพหุนามตัวแปรเดียว
3.10 ค่าสัมบูรณ์
3.11 สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์ของพหุนามตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (เลขเสริม) เล่มที่ 2
บทที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
1.1 ความสัมพันธ์
1.2 ฟังก์ชัน
1.3 การใช้ฟังก์ชันในชีวิตจริง
1.4 กราฟของฟังก์ชัน
1.5 การดำเนินการของฟังก์ชัน
1.6 ฟังก์ชันผกผัน
บทที่ 2 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
2.1 เลขยกกำลัง
2.2 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
2.3 ฟังก์ชันลอการิทึม
2.4 การหาค่าลอการิทึม
2.5 การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม
2.6 สมการและอสมการลอการิทึม
2.7 การประยุกต์ของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
บทที่ 3 เรขาคณิตวิเคราะห์
3.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
3.2 ภาคตัดกรวย (วงกลม วงรี พาราโบลา ไฮเพอร์โบลา การเลื่อนแกน)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (เลขหลัก)
บทที่ 1 เลขยกกำลัง
1.1 เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
1.2 รากที่ n ของจำนวนจริง
1.3 เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ
บทที่ 2 ฟังก์ชัน
2.1 ฟังก์ชัน
2.2 ฟังก์ชันเชิงเส้น
2.3 ฟังก์ชันกำลังสอง
2.4 ฟังก์ชันขั้นบันได
2.5 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม
3.1 ลำดับ
3.2 อนุกรม
3.3 การประยุกต์ของลำดับและอนุกรม
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (เลขเสริม) เล่มที่ 1
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1.1 ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
1.2 ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ
1.3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
1.4 กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1.5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำนวนจริงหรือมุม
1.6 ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1.7 เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
1.8 กฎของโคไซน์และกฎของไซน์
1.9 การหาระยะทางและความสูง
บทที 2 เมทริกซ์
2.1 เมทริกซ์
2.2 ดีเทอมินันต์
2.3 เมทริกซ์ผกผัน
2.4 การหาคำตอบของระบบสมการเชิงเส้น
บทที่ 3 เวกเตอร์
3.1 เวกเตอร์และสมบัติของเวกเตอร์
3.2 ระบบพิกัดฉากสามมิติ
3.3 เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก
3.4 ผลคูณเชิงสเกลาร์
3.5 ผลคูณเชิงเวกเตอร์
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (เลขเสริม) เล่มที่ 2
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน
1.1 จำนวนเชิงซ้อน
1.2 สมบัติเชิงพีชคณิตของจำนวนเชิงซ้อน
1.3 รากที่สองของจำนวนเชิงซ้อน
1.4 กราฟและค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน
1.5 รูปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน
1.6 รากที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน
1.7 สมการพหุนามตัวแปรเดียว
บทที่ 2 หลักการนับเบื้องต้น
2.1 หลักการบวกและหลักการคูณ
2.2 การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด
2.3 การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่ไม่แตกต่างกันทั้งหมด
2.4 การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด
2.5 การจัดหมู่สิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด
2.6 ทฤษฎีบททวินาม
บทที่ 3 ความน่าจะเป็น
3.1 การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
3.2 ความน่าจะเป็น
3.3 กฎที่สำคัญบางประการของความน่าจะเป็น
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.6 (เลขหลัก)
บทที่ 1 ความหมายของสถิติศาสตร์และข้อมูล
1.1 สถิติศาสตร์
1.2 คำสำคัญในสถิติศาสตร์
1.3 ประเภทของข้อมูล
1.4 สถิติเชิงพรรณาและสถิติเชิงอนุมาน
บทที่ 2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ
2.1 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
บทที่ 3 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
3.1 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณด้วยตารางความถี่
3.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแผนภาพ
3.3 ค่าวัดทางสถิติ
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.6 (เลขเสริม) เล่มที่ 1
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
1.1 ลำดับ
1.2 ลิมิตของลำดับอนันต์
1.3 อนุกรม
1.4 สัญลักษณ์แทนการบวก
1.5 การประยุกต์ของลำดับและอนุกรม
บทที่ 2 แคลคูลัสเบื้องต้น
2.1 ลิมิตของฟังก์ชัน
2.2 ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
2.3 อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
2.4 การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันโดยใช้สูตร
2.5 อนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ
2.6 เส้นสัมผัสเส้นโค้ง
2.7 อนุพันธ์อันดับสูง
2.8 การประยุกต์ของอนุพันธ์
2.9 ปฏิยานุพันธ์และปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
2.10 ปริพันธ์จำกัดเขต
2.11 พื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง
เนื้อหา คณิตศาสตร์ หลักสูตรใหม่ ตามหลักสูตรของ สสวท.
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.6 (เลขเสริม) เล่มที่ 2
บทที่ 1 ความหมายของสถิติศาสตร์และข้อมูล
1.1 สถิติศาสตร์
1.2 คำสำคัญในสถิติศาสตร์
1.3 ประเภทของข้อมูล
1.4 สถิติเชิงพรรณาและสถิติเชิงอนุมาน
บทที่ 2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ
2.1 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
บทที่ 3 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
3.1 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ ด้วยตารางความถี่
3.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ ด้วยแผนภาพ
3.3 ค่าวัดทางสถิติ
บทที่ 4 ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น
4.1 ความหมายและชนิดของตัวแปรสุ่ม
4.2 การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง
4.3 การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง