จำนวนอตรรกยะ
จำนวนอตรรกยะคือจำนวนที่มีความหมายตรงกันข้ามกับจำนวนตรรกยะ
จำนวนตรรกยะ (Rational Number) คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็มโดยที่ b ¹ 0 จำนวนตรรกยะ จำแนกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
ตัวอย่างของจำนวนอตรรกยะ เช่น จำนวนที่ติดอยู่ในค่าราก และไม่สามาถที่จะถอดค่ารากออกมาได้ เช่น
2√,3√,5√,7√32,3,5,73 เป็นต้น
ทศนิยม ที่ไม่ใช่ ทศนิยมซ้ำ เช่น
0.23456543…,2.34543…,34.5678943…,34,45432411…0.23456543…,2.34543…,34.5678943…,34,45432411… เป็นต้น
จำนวนนอตรรกยะ ตัวหนึ่งที่น่าสนใจคือ π π ซึ่งเป็นอัตราส่วนระหว่างความยาวของเส้นรอบรูปวงกลมกับความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม
ข้อควรรู้
1. ถ้าจำนวนหนึ่งเป็นจำนวนอตรรกยะแล้ว แล้วจำนวนตรงข้ามกับจำนวนนั้นจะเป็นจำนวนนอตรรกยะด้วย เช่น
2√2 เป็นจำนวนอตรรกยะ จะได้ว่าจำนวนตรงข้ามของ 2√2 คือ
−2√−2 เป็นจำนวนอตรรกยะด้วยเช่นกัน
ππ เป็นจำนวนอตรรกยะ จะได้ว่าจำนวนตรงข้ามของ ππ คือ −π−π เป็นจำนวนอตรรกยะด้วยเช่นกัน
2. จำนวนอตรรกยะ มีสมบัติปิดสำหรับการบวก นั้นคือ ถ้านำจำนวนอตรรกยะมาบวกกัน ค่าทีได้จากการบวกจะเป็นจำนวนอตรรกยะเหมือนเดิมครับ ตัวอย่างเข่น π+π=2ππ+π=2π ซึ่ง 2π2π เป็นจำนวนอตรรกยะ
จำนวนตรรกยะ
จำนวนตรรกยะ (หรือเศษส่วน) คืออัตราส่วนของจำนวนเต็มสองจำนวน มักเขียนอยู่ในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็ม และ b ไม่เท่ากับศูนย์
จำนวนตรรกยะแต่ละจำนวนสามารถเขียนได้ในรูปแบบที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่น รูปแบบที่เรียกว่า เศษส่วนอย่างต่ำ a และ b นั้น a และ b จะต้องไม่มีตัวหารร่วม และจำนวนตรรกยะทุกจำนวนสามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำนี้
-
- จำนวนเต็ม
- จำนวนเต็มลบ
- จำนวนเต็มศูนย์
- จำนวนเต็มบวก
- ไม่ใช่จำนวนเต็ม
- จำนวนเต็ม
จำนวนอตรรกยะ คือ จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้
จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้ แบ่งได้เป็น
- จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม เช่น -1.5, 3,22/7
- จำนวนตรรกยะที่เป็น
- จำนวนเต็มบวก เช่น 1, 2, 3, 4, 5, … , 7/7 , 14/7
- จำนวนเต็มศูนย์ เช่น 0, 0/5
- จำนวนเต็มลบ เช่น -1 , -2, -3, -4, …, – 7/7 , – 14/7
สมบัติของจำนวนจริง
กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ
สมบัติการเท่ากัน (=)
- สมบัติการสะท้อน a = a
- สมบัติการสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a
- สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c
- สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c
- สมบัติการคูณด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว ac = bc
สมบัติการบวก (+)
- สมบัติปิด ถ้า a ϵ R และ b ϵ R แล้ว a + b ϵ R
- สมบัติการสลับที่ จะได้ a + b = b + a
- สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม จะได้ a + (b + c) = (a + b) + c
- สมบัติมีเอกลักษณ์การบวก คือ 0 จะได้ 0 + a = a + 0 = a
- สมบัติมีอินเวอร์สการบวก a มีอินเวอร์สการบวกคือ -a และ -a มีอินเวอร์สการบวก คือ a จะได้ a + (-a) = (-a) + a = 0
สมบัติการคูณ (.)
- สมบัติปิด ถ้า a ϵ R และ b ϵ R แล้ว a.b ϵ R
- สมบัติการสลับที่ จะได้ a.b = b.a
- สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม จะได้ a.(b.c) = (a.b).c
- สมบัติมีเอกลักษณ์การคูณ คือ 1 จะได้ 1.a = a.1 = a
- สมบัติมีอินเวอร์สการคูณ (ยกเว้น 0 เพราะ 1/0 ไม่มีความหมาย) a มีอินเวอร์สการคูณคือ 1/a และ 1/a มีอินเวอร์สการคูณ คือ a จะได้ a. 1/a = 1/a .a=1