สับเซต (Sub Set)
สับเซต (subset) หรือ “เซตย่อย” คือ เซตที่เล็กกว่าหรือเท่ากันกับเซตที่กำหนด โดยต้องใช้สมาชิกร่วมกับเซตที่กำหนดเท่านั้น
.สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยค ” A เป็นสับเซตของ B” คือ …และจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A นั้นเป็นสมาชิกของเซต B ด้วย หรือเมื่อ A เป็นเซตว่างก็ได้
เช่น เรากล่าวว่า …เนื่องจากทั้ง 1 และ 2 เป็นสมาชิกของ
รูปแบบ :..เซต (เล็ก) ....เซต (ใหญ่)
ข้อควรทราบ
1. เซตว่าง เป็นสับเซตของทุกเซต…….
2. เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวเอง…….
3. เซตที่มีสมาชิก n ตัว จะมีสับเซตทั้งสิ้น แบบ
…….เราอาจมองการหาสับเซตว่าเป็นการ “เลือกตัดสมาชิกบางตัวใน A ทิ้งไป” การมองแบบนี้จะทำให้เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น ว่าทำไมเซตว่างจึงต้องถือว่าเป็นสับเซตของ A ด้วย
……. เพาเวอร์เซต (Power set) คือ เซตที่บรรจุด้วยสับเซตทั้งหมดที่เป็นไปได้
เพาเวอร์เซตของ A จะใช้สัญลักษณ์ว่า P(A)
….. → เช่น A = {1, 2} ดังนั้น P(A) = { ø, {1}, {2}, {1, 2} }
ตัวอย่างที่ 1 ถ้าให้ ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
…..…….ถูก
…..…….ถูก
…..…….ผิด
…..…….ผิด
…..…….ถูก
…..…….ผิด (เพราะ 1 ไม่ใช่เซต)
…..…….ถูกเสมอ ! (เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต)
…..…….ถูก (เพราะ อยู่ใน )
…..…….ผิด (เพราะ 2 กับ 3 ไม่ได้อยู่ใน )
…..…….ถูก (เพราะ อยู่ใน )
ตัวอย่างที่ 2 กำหนดให้ จงหา
วิธีทำ…….