จากความหมายของแรงที่ได้กล่าวไว้หมายถึง อ านาจอย่างหนึ่งที่วัตถุหนึ่งกระท าอีกวัตถุหนึ่งผลของการกระท าเกิดขึ้น ท าให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งรูปร่างและสถานที่ และมีแรงปฏิกิริยาโต้ตอบเกิดขึ้นในทิศทางตรงข้ามเสมอเสมือนแรงเป็นนามธรรม การดึงวัตถุ การฉุดการผลัก การดัดงอ เป็นการกระทำของแรงทั้งนั้น เนื่องจากแรงเป็นปริมาณเวคเตอร์ซึ่งมีทั้งหมดและทิศทางเพื่อความสะอาดในการคำนวณ กำหนดให้ใช้เส้นตรงแทนขนาดแสงใช้ลูกศรแทนทิศทางและก าหนดจุดที่แรง
กระท าโดยทั่วไปแรงรวมหรือน้ าหนักรวมของวัตถุจะกระท าผ่านจุดศูนย์กลางความถ่วง (Center of gravity) เสมอ
3.2 ลักษณะแรงชนิดของแรง
แรงแบ่งตามลักษณะของการกระทาและเกิดผลต่อวัตถุแตกต่างกันดังนี้
3.2.1 แรงดึง (Tension) หมายถึงแรงภายนอกที่มากระทาต่อวัตถุและพยายามที่จะแยกวัตถุให้ออกจากกัน จากรูปที่ 3.1 จะเห็นว่าแรง F พยายามที่จะดึงวัตถุให้ขาดจากกันวัตถุก็จะมีแรงภายในหรือและปฏิกิริยาโต้ตอบไว้เพื่อมิให้แยกจากกัน ถ้าวัตถุอยู่ไม่ขาดจากกันหรืออยู่ในภาวะสมดุล แรง T ภายในจะเท่ากับแรง F รูป
รูปที่ 3.1 แสดงการเกิดแรงปฏิกิริยาภายใน T = F
3.2.2 แรงอัด (Compression) หมายถึงแรงภายนอกที่มากระทาต่อวัตถุพยายามทาให้วัตถุแตกหัก จะมีแรงภายในโต้ตอบหรือแรงปฏิกิริยามีขนาดเท่ากับแรงภายนอกจากรูปที่ 3.2 เมื่อวัตถุอยู่ในภาวะสมดุลแรง P ก็จะเท่ากับ F
การรวมแรงและการแยกแรง
3.3.1 การรวมแรง
เนื่องจากแรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ จึงสามารถเขียนแทนได้ด้วยลูกศร โดยที่ความยาวของลูกศรแทนขนาดของแรง และหัวลูกศรแทนทิศทางของแรง รูปที่
3.3 แสดงการเขียนรูปแทนแรงที่มีขนาด 5 นิวตัน มีทิศจากซ้ายไปขวา
รูปที่ 3.3 แสดงการเขียนรูปแทนแรงที่มีขนาด 5 นิวตัน มีทิศจากซ้ายไปขวา