ไฟฟ้าแม่เหล็ก
ไหลผ่าน จะเบนไปทางมือซ้าย ของคนที่ว่ายน้ำไปในทิศทางที่กระแสไหล โดยหันหน้าเข้าหาเส้นลวด
พันรอบวัตถุที่เป็นแกน ตัวอย่างเช่น ขดลวดแบนและโซลินอยด์
ขดลวดแบน (Flat coil or plane coil) เป็นขดลวดที่มีความยาวน้อยเมื่อเทียบกับเส้น
ผ่านศูนย์กลาง
โซลินอยด์ (Solenoid) เป็นขดลวดที่มีความยาวมากเมื่อเทียบกับเส้นผ่านศูย์กลางสนาม
แม่เหล็กที่เกิดจากโซลินอยด์คล้ายกับแท่งแม่เหล็ก ตำแหน่งของขั้วขึ้นอยู่กับทิศของกระแสไฟฟ้า
แกน (Core) เป็นวัตถุที่ใช้เป็นแกนของขดลวดเป็นสิ่งบอกความเข้มสนามแม่เหล็ก สาร
แม่เหล็กชั่วคราว หรือเหล็กอ่อนทำให้เกิดสนามแม่เหล็กที่มีความเข้มสูง และนิยมใช้ทำแม่เหล็กไฟฟ้า
ผ่าน จะอยู่ในทิศสกรูหมุน เมื่อขันสกรูเข้าไปตามทิศของกระแสไฟฟ้า
แนวนิ้วมือขวาที่กำรอบเส้นลวด โดยที่นิ้วหัวแม่มือชี้ไปตามทิศของกระแสในเส้นลวด
ประโยชน์ของแม่เหล็กไฟฟ้า (Applications of electromagnets) แม่เหล็กไฟฟ้ามีประ
โยชน์มากมาย ใช้หลักการที่แม่เหล็กดูดแผ่นโลหะเมื่อว่างวงจรปิดซึ่งเป็นการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลัง
งานกล เช่นพลังงานเสียง
ออตไฟฟ้า (Applications of electromagnets) เป็นอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดเสียงจากกระ
แสตรง แผ่นโลหะจะถูกดูดโดยแม่เหล็กไฟฟ้า ทำให้จุดสัมผัสแยกออก มีผลให้กระแสที่เข้ามายังแม่เหล็ก
ไฟฟ้าหยุดไหล ดังนั้นแผ่นโลหะจึงดีดกลับ เกิดขึ้นเช่นนี้เรื่อยๆ มีผลให้แผ่นโลหะสั่นเกิดเสียงออตขึ้น ใน
กระดิ่งไฟฟ้ามีค้อนติดกับแผ่นโลหะใกล้กับกระดิ่งเมื่อแผ่นโลหะสั่นค้อนก็จะเคาะกระดิ่ง
หูฟัง (Earpiece) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนสัญญานไฟฟ้าเป็นคลื่อนเสียง ใช้แม่เหล็กถาวร
ดูดแผ่นไดอะแฟรม ความแรงของแรงดึงดูดเปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟ้าในขดลวดแม่เหล็ก
ไฟฟ้า แผ่นไดอะแฟรมจะสั่นทำให้เกิดเสียง
รีเลย์ (Relay) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์ ปิดวงจรโดยใช้แม่เหล็กไฟฟ้า ใช้กระแส
ไฟฟ้าเพียงเล็กน้อยผ่านเข้าไปในขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อเปิดสวิตซ์ให้กระแสไฟฟ้าปริมาณมากไหลใน
อีกวงจรหนึ่ง
แม่เหล็ก เป็นสารประกอบของเหล็กและออกซิเจน
เป็นวัตถุที่ สามารถดูดสารแม่เหล็กบางชนิดได้
สนามแม่เหล็ก คือบริเวณหรือขอบเขตที่แม่เหล็กส่ง
เส้นแรงแม่ เหล็กที่มีอำนาจการดึงดูดออกไปได้ถึง
คุณสมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก
1. มีทิศออกจากขั้วเหนือเข้าสู่ขั้วใต้
2. ถ้ามีเส้นแรงแม่เหล็กปริมาณมาก เส้นแรงแม่
เหล็กจะรวมกัน หรือต้านกันออกไปทำให้เกิดจุดสะเทิน
ซึ่งเป็นจุดที่มีค่าความเข้มสนาม แม่เหล็กเป็นศูนย์
ฟลักซ์แม่เหล็ก คือ ปริมาณเส้นแรงแม่เหล็ก หรือจำ
นวนของเส้น แรงแม่เหล็ก ใช้สัญญลักษณ์
ความเข้มสนามแม่เหล็ก (B) หมายถึง จำนวนเส้น
แรงแม่เหล็กต่อ หน่วยพื้นที่ที่เส้นแรงแม่เหล็กตกตั้งฉาก
B = ความเข้มของสนามแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น
Tesla(T)หรือ Wb/m2
= ฟลักซ์แม่เหล็ก มีหน่วยเป็น Weber (Wb)
A = พื้นที่ที่ตกตั้งฉาก มีหน่วยเป็น ตารางเมตร (m2)