ระบบจำนวนเชิงซ้อนประเภทจินตภาพ การใช้ความรู้เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ (Prior Knowledge)
พิจารณา สมการพหุนามบางสมการในระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนเลขเท่าที่มนุษย์คิดค้นพบในขณะนี้ประกอบด้วยเลขจำนวน 2 ระบบคือ
1.ระบบจำนวนจริง (Real Number System)
2.ระบบจำนวนเชิงซ้อนประเภทจินตภาพ (Imaginary Number System)
สรุปเป็นแผนภูมิได้ดังนี้
จำนวนเชิงซ้อน
ระบบจำนวนจริงระบบจำนวนจินตภาพ
จำนวนตรรกยะจำนวนอตรรกยะ
จำนวนเต็มจำนวนเศษส่วน
จำนวนเต็มลบจำนวนเต็มศูนย์จำนวนเต็มบวก
1.จำนวนจินตภาพ(Imaginary Number)เป็นจำนวนที่เกิดจากนักคณิตศาสตร์
พยายามแก้ไขปัญหาในค่าx จากสมการx2 + 1 = 0
x2=-1
x=±Ö- 1
แต่เนื่องจากÖ- 1มิใช่จำนวนจริงนักคณิตศาสตร์จึงตั้งชื่อจำนวนจริงลบที่อยู่ในเครื่องหมายÖว่าจำนวนจินตภาพและใช้สัญลักษณ์iแทนÖ-1
ดังนั้นi2=-1
2.จำนวนตรรกยะ(Rational Number) คือจำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน
a/b เมื่อa และbเป็นจำนวนเต็มโดยที่b ¹0จำนวนตรรกยะจำแนกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆคือ
1.จำนวนเต็ม(Integer)
2.เศษส่วน(Fraction)
3.ทศนิยม(Repeating decimal)
3.จำนวนอตรรกยะ(irrational Number) คือจำนวนที่ไม่สามารถเขียนในรูปเศษ