ส่วนประกอบและความหมายของเลขยกกำลัง-ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม ระดับ ม.5
สมบัติของเลขยกกำลัง
ถ้า a เป็นจำนวนใด ๆ m และ n เป็นจำนวนเต็มบวกแล้ว
- ฐานเดียวกัน กำลังคูณกัน ได้ กำลังบวก
- ยกกำลังอยู่ด้านนอกคูณเข้าในได้
- ยกกำลังอยู่ด้านนอกคูณเข้าในได้
- ยกกำลังอยู่ด้านนอกคูณเข้าในได้
- ฐานเดียวกัน หารกัน ได้ยกกำลังลบ
- จำนวนยกกำลัง ศูนย์ ได้เท่ากับ 1
- จำนวนยกกำลังลบได้เท่ากับ 1 / จำนวนนั้น
ตัวอย่างที่ จงเติมคำตอบลงในตารางต่อไปนี้
จำนวน |
ฐาน | เลขชี้กำลัง | อ่านว่า |
ความหมาย |
2⁷ |
2 | 7 |
สองยกกำลังเจ็ด |
2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 |
(-5)⁴ |
-5 |
4 |
ลบห้าทั้งหมดยกกำลังสี่ | (-5) x (-5) x (-5) x (-5) |
-5⁴ |
-5 |
4 |
ลบของห้ายกกำลังสี่ | -(5 x 5 x 5 x 5) |
7⁶ |
7 |
6 |
เจ็ดยกกำลังหก | 7 x 7 x 7 x 7 x 7 x 7 |
(0.7)³ |
(0.7) |
3 |
ศูนย์จุดเจ็ดทั้งหมดยกกำลังสาม | (0.7) x (0.7) x (0.7) |
(-0.3)³ |
(-0.3) |
3 |
ลบศูนย์จุดสามทั้งหมดยกกำลังสาม | (-0.3) x (-0.3) x (-0.3) |
(-13)⁹ |
(-13) |
9 |
ลบสิบสามทั้งหมดยกกำลังเก้า | (-13) x (-13) x (-13) x (-13) x (-13) x (-13) x (-13) x (-13) x (-13) x (-13) x (-13) |
(0.9)³ |
(0.9) |
3 |
ลบศูนย์จุดเก้าทั้งหมดยกกำลังสาม | (0.9) x (0.9) x (0.9) |
(²⁄₃)³ | ²⁄₃ |
3 |
เศษสองส่วนสามทั้งหมดยกกำลังสาม | (²⁄₃) x (²⁄₃) x (²⁄₃) |
(-1⁄₃)⁸ |
(-1⁄₃) |
8 |
ลบเศษหนึ่งส่วนสามทั้งหมดยกกำลังแปด | (-1⁄₃) x (-1⁄₃) x (-1⁄₃) x (-1⁄₃) x (-1⁄₃) x (-1⁄₃) x (-1⁄₃) x (-1⁄₃) |
การเขียนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก ทำให้น้องๆได้รู้จักส่วนประกอบของเลขยกกำลัง ไม่ว่าจะเป็นฐาน หรือ เลขชี้กำลัง ซึ่ง 2 ส่วนนี้เมื่อเขียนรวมกันแล้ว เราเรียกว่า เลขยกกำลัง ซึ่งเนื้อหาในบทคสามนี้จะเป็นพื้นฐานในการเรียนเรื่อง เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ ในระดับชั้น ม.5
ขอบคุณข้อมูล https://nockacademy.com/