ข่าวสาร เกร็ดความรู้ทั่วไป

ประวัติวันวาเลนไทน์ 14 กุมภาพันธ์

ประวัติวันวาเลนไทน์ 14 กุมภาพันธ์ มีความหมาย

วันแห่งความรัก ในเดือนกุมภาพันธ์ เป็นเดือนที่อบอวลไปด้วยการแสดงถึงความรัก ความห่วงใยถึงคนที่เราปรารถนาดีและอยากให้เขามีความสุข และเป็นที่รับรู้กันทั่วโลก ว่าวันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันแห่งความรักหรือวันวาเลนไทน์ (Valentine’s Day)

มารู้จักกับแบตเตอรี่ ยานยนต์ไฟฟ้า EV กัน

แบตเตอรี่ ยานยนต์ไฟฟ้า EV  ตารางแสดงแบตเตอรี่ลิเทียมไอออนประเภทต่างๆ วัสดุขั้วลบและขั้วบวก และการใช้งาน

ความหมาย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน-คณิตศาสตร์

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ จาก เซต หนึ่ง (โดเมน) ไปยังอีกเซตหนึ่ง (โคโดเมน ไม่ใช่ เรนจ์) โดยที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำกัน ความคิดรวบยอดของฟังก์ชันนี้เป็นพื้นฐานของทุกสาขาของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ

มารู้จักกับ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน (Fission reaction)และ ฟิวชัน  (Fusion reaction)-ฟิสิกส์

 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน และฟิวชัน .ปฏิกิริยานิวเคลียร์                 หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียสของอะตอมของธาตุ แล้วได้นิวเคลียสของธาตุใหม่เกิดขึ้น ซึ่งจะแผ่รังสีและให้พลังงานมหาศาล และเรียกสมการที่แสดงปฏิกิริยานิวเคลียร์ว่า

เก่งไม่ยาก รวมวิธีเรียนเคมีให้เข้าใจ

หลายคนที่เรียนสายวิทย์-คณิตฯ มาก็พร้อมใจกันบอกว่ายาก และไม่ชอบ แต่ก็มีอีกหนึ่งวิชาค่ะ ที่ถือว่าปราบเซียนเด็กๆ วิทย์-คณิตฯ เหมือนกัน นั่นก็คือ วิชาเคมี ที่มีทั้งส่วนผสมของวิชาคำนวณและความเข้าใจ วันนี้พี่อีฟก็เลยขอเอาเทคนิคดีๆ ที่เคยช่วยพัฒนาวิชาเคมี

สรุป ลำดับและอนุกรม ม.5

ลำดับและอนุกรม ม.5 ลำดับ เป็นจำนวนหรือพจน์ที่เขียนเรียงกันภายใต้กฏเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นลำดับทั่ว ๆ ไป โดยแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่

กราฟและสมการของภาคตัดกรวย

กราฟและสมการของภาคตัดกรวย กราฟและสมการของภาคตัดกรวยแต่ละชนิด โดยอาศัยหลักการเลื่อนกราฟ ได้ดังตารางต่อไปนี้ ภาคตัดกรวย กราฟ สมการรูปแบบมาตรฐานและข้อเท็จจริงที่สำคัญ วงกลม สมการ จุดศูนย์กลาง (h, k) รัศมียาว r หน่วย วงรี สมการ แกนเอกอยู่ในแนวนอน จุดศูนย์กลาง (h, k) จุดยอด (h-a, k), (h+a, k) โฟกัส (h-c, k), (h+c, k); c2= a2 – b2 แกนเอกยาว 2a หน่วย แกนโทยาว 2b หน่วย สมการ แกนเอกอยู่ในแนวตั้ง จุดศูนย์กลาง (h, k) จุดยอด (h, k-a), (h, k+a) โฟกัส (h, k-c), (h, k+c); c2= a2 – b2 แกนเอกยาว…

มารู้จักการประยุกต์ใช้กฏพาเรโต้ กฏ 80/20

พาเรโต้ หรือ เพรโต้ (Pareto) เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้แสดงรายละเอียดของสิ่งที่เราสนใจในรูปแบบของกราฟผสมระหว่างกราฟแท่ง กับกราฟเส้น โดยเรียงลำดับของรายละเอียดในแต่ละหัวข้อตามลำดับความถี่มากไปหาถี่ที่น้อยกว่า ตามหลักของกฎ 80:20 หรือ กฏของเพลโต ที่ว่า สาเหตุหลัก 20% ส่งผลทำให้เกิดผลลัพธ์ 80% เช่น ปัญหางานแตก เกิดจากการขนย้ายซึ่งเป็นปัญหาหลัก ถ้าเราแก้ไขปัญหาการขนย้ายได้ โอกาสที่ของเสียจะลดลงถึง 80% ดังนั้นเราต้องหาสาเหตุ หรือต้นตอของปัญหาหลักให้เจอ และแก้ไขโดยเร็วที่สุด สำหรับรายละเอียดส่วนใหญ่ที่นำเสนอมีหลายประเภท เช่น ปริมาณของเสีย คุณภาพสินค้า อุบัติเหตุ ความปลอดภัย การส่งมอบ ค่าใช้จ่าย ซึ่งหัวข้อเหล่านี้จะนำไปสู๋การแก้ไขปัญหา หรือวางแผนการดำเนินงานต่อไป และพาเรโต้นี้ยังนิยมใช้ประกอบการดำเนินกิจกรรมคิวซีซีเป็นอย่างมาก สำหรับประโยชน์ที่ได้รับของพาเรโต้ มีหลายประการ ได้แก่ 1)ทำให้ทราบถึงหัวข้อที่มีความถี่สูงสุด เช่น ปัญหาที่มีความสูญเสียมากที่สุด ชนิดของปัญหาที่มีความถี่มากที่สุด 2) ทำให้ทราบอัตราส่วนของปัญหาที่เกิดขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับปัญหาอื่นๆ 3) ทำให้ทราบลำดับ และความสำคัญของปัญหา เป็นต้น แนวทางในการจัดทำพาเรโต้ มีสองขั้นตอนหลักๆ ดังต่อไปนี้