ประวัติศาสตร์ของ ¶

ซึ่งไม่ได้วางอยู่บนหลักการอะไรเลยนอกเสียจากหลักพื้นๆหยาบๆไม่สูงส่งอันใด และ เครื่องประดิษฐ์เกรดต่ำในเชิงพาณิชย์ นั่นคือสิ่งที่เขาถูกกล่าวหาว่าประดิษฐ์ขึ้นด้วยความไม่ค่อยเต็มใจ ใน The Method อาร์คีมีดีสได้ เขียนจดหมายถึง เอราทอสธีเนียส บรรณารักษ์แห่งอเล็กซานเดรีย ซึ่งเขาเคยได้พบกันว่า :

การเรียนรู้ Machine learning

Machine Learning ก็คือกลไกภายในของ Artificial Intelligence ซึ่งกลไกนั้นคือ การเรียนรู้ด้วยตนเองของคอมพิวเตอร์จากสิ่งที่เรากระตุ้นหรือในที่นี้ก็คือข้อมูลที่นำใส่เข้าไป โดยอาศัยโปรแกรมหรืออัลกอริทึม (algorithm) เป็นตัวประมวลผล คอมพิวเตอร์มีการทำงานโดยจดจำและเรียนรู้เพื่อส่งผลลัพธ์ที่เราต้องการออกมาได้ อัลกอริทึมที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันก็คือ Deep Learning

มารู้จัก แคลคูลัส

มีใครเคยเรียนแคลคูลัสบ้าง? ถ้าเป็นนักเรียนมัธยมปลายก็คงจะเคยเรียนพื้นฐานของแคลคูลัสมาบ้างในวิชาคณิตศาสตร์ ส่วนนักศึกษามหาวิทยาลัยที่เรียนคณะวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา วิศวกรรมศาสตร์ หรือแม้กระทั่งเศรษฐศาสตร์ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้ศึกษาวิชาพื้นฐานอย่างแคลคูลัส (Calculus) ในตอนปี 1 แล้ววิชานี้มีที่มาที่ไปอย่างไร มีความสำคัญอย่างไร และจะนำไปประยุกต์ใช้อะไรได้บ้าง หาคำตอบกันได้ในบทความนี้

สนามแม่เหล็กโลก

สนามแม่เหล็กโลก (Magnetosphere) แม่เหล็กเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่น่าสนใจมานานหลายพันปี เป็นปรากฏการณ์ที่ทำให้เกิดแรงได้โดยที่เราไม่ต้องออกแรงใด ๆ เพิ่ม จนเมื่อมนุษย์ได้นำความสามารถของแม่เหล็กมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่นในประเทศจีนที่สามารถประดิษฐ์เข็มทิศขึ้นมาใช้ในการนำทางได้เป็นประเทศแรกของโลก ซึ่งวันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับหลักการเบื้องหลังที่ทำให้เข็มทิศทำงานได้นั่นก็คือ สนามแม่เหล็กโลก…

API ช่องทางการเชื่อมต่อเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างซอฟต์แวร์

API ช่องทางการเชื่อมต่อเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างซอฟต์แวร์-  Application Programming Interface Service IT / Technology Services from Hyderabad  ปัจจุบันการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างซอฟต์แวร์สำหรับนักพัฒนาด้วย API มีความสำคัญ มีความสะดวกสบาย และเป็นที่นิยมอย่างมาก เป็นเสมือนตัวกลางที่ทำให้โปรแกรมประยุกต์หนึ่งเชื่อมต่อกับโปรแกรมประยุกต์หนึ่งได้ หรืออาจจะเชื่อมการทำงานเข้ากับระบบปฏิบัติการก็ได้เช่นเดียวกัน

สงครามเย็นทางเทคโนโลยี

หลายคนคงเคยได้ยินคำว่า สงครามเย็น (Cold War) ซึ่งอาจมองกันในแง่มุมที่ว่า เป็นสถานะการสู้รบหรือความตึงเครียดทางการเมืองและการทหารเพียงอย่างเดียว แต่ในความเป็นจริงแล้วนั้น สงครามเย็นดังกล่าวไม่ได้มีลักษณะดังที่เข้าใจกันในทางนั้นเพียงอย่างเดียว ยังมีอีกหลายลักษณะ หนึ่งในนั้นคือลักษณะของเทคโนโลยี สำหรับในตอนที่ 1 นี้ จะเกริ่นนำให้รู้ความเป็นไปเป็นมาถึงที่มาให้เกิดสงครามเย็นทางเทคโนโลยีกันก่อน

คณิตศาสตร์…ของมะเร็งเต้านม !!!

มะเร็งเต้านม ( Breast cancer ) เป็นหนึ่งในมะเร็งที่พบได้บ่อย และเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ในเพศหญิง (สำหรับเพศชาย มะเร็งเต้านมเองก็เกิดได้เช่นกันแต่อาจไม่บ่อยนัก) โดยโรคชนิดนี้จะพบได้ตั้งแต่วัยสาว และมีโอกาสพบผู้ป่วยมากขึ้น ตามอายุที่มากขึ้นของแต่ละบุคคล โดยประมาณกว่า 90% จะพบในผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 40 ปี

คณิตศาสตร์ประยุกต์คืออะไรและเรียนอะไรกันบ้าง

หลายคนอาจเคยได้ยินชื่อสาขาหนึ่งของคณะวิทยาศาสตร์ในบางมหาวิทยาลัย คือสาขาคณิตศาสตร์ประยุกต์ ก็อาจสงสัยว่าแตกต่างกันอย่างไรกับสาขาคณิตศาสตร์ และเรียนอะไรกันบ้าง วันนี้ผู้เขียนหาคำตอบมาให้ ติดตามอ่านกันได้เลย

คณิตศาสตร์ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

เป็นที่ทราบกันดีว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีรูปแบบการค้นหาความรู้ที่เป็นเหตุเป็นผล ในทางกฏหมายก็ใช้การอ้างเหตุผลการตัดสิน พิพากษา ในเศรษฐศาสตร์และสังคมต่างก็โน้มน้าวและสร้างความน่าเชื่อถือด้วยกระบวนการที่เป็นเหตุเป็นผล จะเห็นว่าตรรกศาสตร์ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการใช้เหตุผลมีบทบาทสำคัญในการสร้างและพัฒนารากฐานให้กับศาสตร์ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในคณิตศาสตร์ที่อาศัยเพียงโครงสร้างคณิตศาสตร์

คณิต จากทุกมุมโลก ตอนที่ 10 Albert Einstein

นักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่ไม่มีใครไม่รู้จักที่จะนำเสนอในตอนนี้ เป็นอีกหนึ่งบุคคลที่เรียกได้ว่าเป็นทั้งนักคณิตศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีชื่อเสียงโด่งดังมาก โดยเฉพาะทางด้านฟิสิกส์ บุคคลนั้นก็คือ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein)  นักฟิสิกส์ผู้มีชื่อเสียงในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ประเทศเยอรมนี แต่มีสัญชาติในสุดท้ายของชีวิตคือ สหรัฐอเมริกา