มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม
มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม วงกลม บทนิยามของวงกลม วงกลม คือ เซตของจุดทุกจุดบนระนาบซึ่งอยู่ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่งบนระนาบเดียวกันเป็นระยะทางเท่าๆกัน
มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม วงกลม บทนิยามของวงกลม วงกลม คือ เซตของจุดทุกจุดบนระนาบซึ่งอยู่ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่งบนระนาบเดียวกันเป็นระยะทางเท่าๆกัน
สมบัติและลักษณะของพีระมิด พีระมิด คือ วัตถุทรงสามมิติซึ่งฐานเป็นรูปหลายเหลี่ยม มีหน้าทุกหน้า (ผิวข้าง) เป็นรูปสามเหลี่ยมโดยมีจุดยอดร่วมกันที่จุดหนึ่ง ทั้งนี้ยอดไม่อยู่ในระนาบเดียวกับฐาน การเรียกพีระมิด มักเรียกตามชื่อรูปร่างของฐานพีระมิด เช่น – หากฐานพีระมิดเป็นรูปสามเหลี่ยม จะเรียกว่า พีระมิดฐานสามเหลี่ยม (อาจเป็นสามเหลี่ยมหน้าจั่ว สามเหลี่ยมด้านเท่า หรือสามเหลี่ยมอื่น ๆ ก็ได้)
ปริมาตรของทรงกระบอก ปริมาตรของทรงกระบอก รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการและอยู่บนระนาบที่ขนานกัน เมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบ
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น การแจกแจงความถี่ของข้อมูล หลังจากที่กำหนดตัวแปรที่ต้องการศึกษา และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรที่ต้องการศึกษาแล้ว ข้อมูลที่เก็บได้เรียกว่า ข้อมูลดิบ (Raw Data) เช่น ต้องการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสถิติ ก็จะมีการสร้างแบบทดสอบวิชาสถิติขึ้นมา นาไปสอบกับกลุ่มนักเรียนที่ต้องการวัด แล้วตรวจคะแนน คะแนนที่ได้เรียกว่า ข้อมูลดิบ (Raw Data) หรือคะแนนดิบ ซึ่งข้อมูลดิบนี้ยังไม่มีความหมายอะไร วิธีเบื้องต้นที่จะทำให้ข้อมูลดิบนั้นมีความหมายคือการแจกแจงความถี่ ซึ่งจะสามารถทำให้ข้อมูลนั้นสามารถเอาไปใช้ได้ง่ายขึ้น และสังเกตการเปลี่ยนแปลงต่างๆได้ง่ายขึ้นด้วย
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ในการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น จะต้องทราบความหมายของคาว่า ตัวแปร ดังนี้ ตัวแปร คือ ลักษณะของประชากรที่สนใจจะศึกษาวิเคราะห์ ซึ่งลักษณะนั้นๆ สามารถเปลี่ยนค่าได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพหรือตัวแปรเชิงปริมาณ
สรุปสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของเรขาคณิตรูปทรงต่างๆ เนื้อหาทั้งหมดของ พื้นที่ ปริมาตร พื้นที่ผิวและปริมาตร
การจำแนกจำนวนเต็มบวกโดยใช้สมบัติการหารลงตัว 1.จำนวนเฉพาะ (Prime Numbers) บทนิยาม จำนวน เต็ม p จะเป็นจำนวนเฉพาะ ก็ต่อเมื่อ p ≠ 0, p ≠ 1, p ≠ –1 และถ้ามีจำนวนเต็มที่หาร p ลงตัว จำนวนเต็มนั้นต้องเป็นสมาชิกของ {-1, 1, p, -p}
การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง ตัวแปร : อักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x , y ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวน ค่าคงตัว : ตัวเลขที่แททนจำนวน เช่น 1, 2 นิพจน์ : ข้อความในรูปสัญลักษณื เช่น 2, 3x ,x-8 , เอกนาม : นิพจน์ที่เขียนอยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้กำลังของตัวแปรเป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ เช่น -3, 5xy , 2y พหุนาม : นิพจน์ที่สามารถเขียนในรูปของเอกนาม หรือการบวกเอกนามตั้งแต่สองเอก นามขึ้นไป เช่น 3x , 5x +15xy+10x+5 ดีกรีของเอกนาม : ดีกรีสูงสุดของเอกนามในพหุนามนั้น เช่น x+2xy+1 เป็นพหุนามดีกรี 3 การแยกตัวประกอบของพหุนาม พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว : พหุนามที่เขียนได้ในรูป ax…
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง พาราโบลา (PARABOLA) สมการพาราโบลา สมการของ พาราโบลา คือ สมการที่สามาเขียนให้อยู๋ในรูป
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นเรื่องตัวบ่งปริมาณ ตัวบ่งปริมาณ(Quantified statement) ตัวบ่งปริมาณในตรรกศาสตร์ มี 2 ชนิด คือ 1) ตัวบ่งปริมาณ “ทั้งหมด” หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้องการพิจารณาในการ นำไปใช้อาจใช้คำอื่นที่มีความหมายเช่นเดียวกับ “ทั้งหมด” ได้ ได้แก่ “ทุก”