มาดูประพจน์และการเชื่อมประพจน์-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4
ประพจน์และการเชื่อมประพจน์-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ประพจน์และการเชื่อมประพจน์-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
มวลและน้ำหนักของสาร มวลของสาร คือ ปริมมณที่ขึ้นอยู่กับเนื้อของสาร ซึ่งมีค่าคงที่เสมอ น้ำหนักของสาร คือ แรงดึงดูดของดลกที่กระทำต่อมวลของวัตถุ วัตถุที่มีมวลมากน้ำหนักก็จะมากตาม วัตถุที่มีมวลน้อยน้ำหนัก็จะน้อยตาม นั่นคือน้ำหนักของสารแปรผันโดยตรงกับมวลของสาร
ปริมาณสารสัมพันธ์-มวลโมเลกุล (Molecular Mass) เนื่องจากโมเลกุลของสารต่างๆ มีขนาดเล็กมาก ในทางปฏิบัติการหามวลโมเลกุลจึงไม่สามารถจะชั่งได้ แต่จะใช้ค่าการเปรียบเทียบเช่นเดียวกับมวลอะตอม โดยเปรียบเทียบว่าสารนั้นมีมวลเป็นกี่เท่าของธาตุมาตรฐาน ในปัจจุบันใช้ 12C เป็นมาตรฐาน โดยถือว่า 1/12 มวลของ C-12 1 อะตอม เท่ากับ 1 หน่วยมาตรฐาน หรือ 1 amu ซึ่งมีมวลเท่ากับ 1.66 x10-24 กรัม ดังนั้น มวลโมเลกุล จึงหมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าสารใดๆ 1 โมเลกุล มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12 มวลของ C-12 1 อะตอม หรือเขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ดังนี้
สรุปเนื้อหา ปริมาณสารสัมพันธ์
ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ (Special Relativity )จะเกี่ยวข้องกับระบบที่มีความเร็วคงที่คือเป็น ระบบที่ไม่มีความเร่ง การอธิบายทฤษฎีนี้อย่างง่ายที่สุดก็เปรียบเทียบให้เห็นว่า เมื่อเรารู้สึกว่าทุกสิ่งกำลังหยุดนิ่งหรือมีความเร็วที่เท่ากันเราไม่สามารถบอกได้ว่าสิ่งใดกำลังเคลื่อนที่ เช่น โลกหมุนรอบตัวเองและรอบดวงอาทิตย์ เรายัง รู้สึกว่าทุกสิ่งกำลังอยู่กับที่ แต่ที่จริงสิ่งที่เรานึกว่าหยุดอยู่กับที่กลับเคลื่อนที่ ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ (Special Relativity) ถูกเสนอขึ้นในปี ค.ศ. 1905 โดยอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ในบทความของเขา “เกี่ยวกับพลศาสตร์ไฟฟ้าของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ (On the Electrodynamics of Moving Bodies)” สามศตวรรษก่อนหน้านั้น หลักสัมพัทธภาพของกาลิเลโอกล่าวไว้ว่า การเคลื่อนที่ ด้วยความเร็วคงที่ทั้งหมดเป็นการสัมพัทธ์ และไม่มีสถานะของการหยุดนิ่งสัมบูรณ์และนิยามได้ คนที่อยู่บนดาดฟ้าเรือคิดว่าตนอยู่นิ่ง แต่คนที่สังเกตบนชายฝั่งกลับบอกว่า ชายบนเรือกำลังเคลื่อนที่ ทฤษฏีของไอน์สไตน์รวมหลักสัมพัทธภาพของกาลิเลโอเข้ากับสมมติฐานที่ว่า ผู้สังเกตทุกคนจะวัดอัตราเร็วของแสงได้เท่ากันเสมอ ไม่ว่าสภาวะการเคลื่อนที่เชิงเส้นด้วยความเร็วคงที่ของพวกเขาจะเป็นอย่างไร
ตั้งแต่ ยุคศตวรรษที่ 21 โลกเชื่อมต่อถึงกันได้ง่ายดายด้วยเทคโนโลยี และภาษาอังกฤษก็ช่วยให้การติดต่อสื่อสารระหว่างกันทำได้ง่ายขึ้น
มารู้จักกับการทำงานของสมองที่หลายคนยังไม่รู้ สมองมีการทำงานดังนี้ 1. ประสาทรับความรู้สึก
ทฤษฎีจำนวน (Number Theory) นิยาม ถ้า m และ n เป็นจำนวนเต็ม โดยที่ n≠0 แล้ว n หาร m ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจำนวนต็ม c เพียงจำนวนเดียวเท่านั้น
สาระการเรียนรู้บทที่ 1 เซตนวคิด ที่มา และความสำคัญ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พื้นฐานคณิตศาสตร์ บทสรุป เรื่องเซต ( set ) ม.4 คณิตศาสตร์ ออนไลน์
ประพจน์ (Propositions หรือ Statements) ประพจน์ (Proposition ,Statement) หมายถึง ประโยชน์หรือข้อความ ที่มีค่าความจริงเป็นจริง หรือเป็นเท็จเพียงค่าใดค่าหนึ่งเท่านั้น ซึ่งอาจอยู่ในประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธก็ได้