เนื้อหาที่สอน เลข ม.4 เทอม 1 เรื่องเซต

เนื้อหาที่สอน เลข ม.4 เทอม 1 เรื่องเซต  เซต (1) เซต (2) เอกภพสัมพัทธ์ (3) สับเซตและเพาเวอร์เซต (4) ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต

สรุปสูตร สถิติ ทั้งหมด

สรุปสูตร สถิติ ทั้งหมด

สรุปสูตร สถิติ ทั้งหมด 1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2) มัธยฐาน 3) ฐานนิยม 4) ควอไทล์ เดไซล์ เปอร์เซนไทล์ 5) การวัดการกระจาย 6) ความแปรปรวน และความแปรปรวนรวม 7) ค่ามาตรฐาน พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ 9) ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตข้อมูลที่แจกแจงความถี่ วิธีการ หาค่าเฉลี่ย มัธยฐาน และฐานนิยม การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่ากลาง คือ ค่าที่ใช้เป็นตัวแทนของข้อมูลชุดหนึ่ง ค่ากลางที่นิยมใช้มี 3 วิธีได้แก่ 1) ฐานนิยม (Mode) ฐานนิยม (Mode : Mo) หมายถึง ค่าของข้อมูลในชุดใดชุดหนึ่ง ซึ่งมีความถี่สูงที่สุดหรือซ้ำกันมากที่สุด การหาฐานนิยมแบ่งเป็น 2 กรณี     1.1) กรณีที่ข้อมูลไม่จัดเป็นกลุ่ม Ex.     1.2) กรณีที่ข้อมูลจัดเป็นกลุ่ม          …

สรุป ความน่าจะเป็น ม.4-6

สรุป ความน่าจะเป็น ม.4-6

สรุป ความน่าจะเป็น ม.4-6 ในชีวิตประจำวัน เรามักจะได้ยินคำว่า “โอกาส” เช่น โอกาสที่ฝนจะตกเท่ากับ90% หมายถึง เหตุการณ์ที่ฝนจะตกมากกว่าเหตุการณ์ที่ฝนไม่ตก แต่ถ้าเราโยนเหรียญเที่ยงตรง 1 เหรียญ โอกาสที่เหรียญจะออกหัวหรือก้อยเป็นจำนวนเท่า ๆ กัน คือ 50%

ความน่าจะเป็นในชีวิตประจำวัน

ความน่าจะเป็นในชีวิตประจำวัน ความน่าจะเป็น (Probability) ทฤษฎีความน่าจะเป็นเริ่มมาจากปัญหาของการเล่นเกมการพนัน โดยมีนักพนันชาวฝรั่งเศสชื่อ เซอวาลิเยร์ เดอ เมเร (Chevalier de Mire)

ความน่าจะเป็น เบื้องต้น

ความน่าจะเป็น นิยามต่างๆ ในหัวข้อ  ความน่าจะเป็น (Probability) การทดลองสุ่ม (Random experiment)  คือ การทดลองหรือการกระทำที่ไม่สามารถระบุอย่างแน่นอนว่าผลลัพธ์ในการทดลองเป็นอย่างไร

การสร้างรูปเรขาคณิตอย่างง่าย

การสร้างรูปเรขาคณิตอย่างง่าย

การสร้างรูปเรขาคณิตอย่างง่าย การสร้างรุปเรขาคณิตอย่างง่าย  ซึ่งเราจะกล่าวถึงการสร้างรูปเรขาคณิตที่มีความยาวเท่ากับความยาวที่กำหนด และมีขนาดของมุมเท่ากับขนาดของมุมที่ใช้การสร้างมุม 90 องศา  ,45 องศา และ 60 องศา เป็นพื้นฐาน

พีชคณิตของฟังก์ชัน (Agebra Of Function)

พีชคณิตของฟังก์ชัน (Agebra Of Function)

พีชคณิตของฟังก์ชัน (Agebra Of Function) พีชคณิตของฟังก์ชันเป็นการนำฟังก์ชันตั้งแต่สองฟังก์ชันขึ้นไปมา บวก ลบ คูณ หารกัน  เพื่อให้ได้ฟังก์ชันใหม่พีชคณิตของฟังกช์ นั ทา ไดโ้ดยการนา เรนจข์องคู่อนัดบัของฟังกช์ นั ที่มีโดเมนเหมือนกนั มา บวก  ลบ คูณ หาร กน