การแจกแจงค่าความจริง

การแจกแจงค่าความจริง และ สมบัติการสมมูล ตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

การแจกแจงค่าความจริง ตรรกศาสตร์ โดยมีเนื้อหาตั้งแต่ สมบัติการสมมูล ประพจน์ การหาค่าความจริง สัจนิรันดร์ การอ้างเหตุผล และตัวบ่งปริมาณ การแจกแจงค่าความจริง จริง  ใช้สัญลักษณ์ T เท็จ  ใช้สัญลักษณ์ F

สนามแม่เหล็ก (Magnetic field)

สนามแม่เหล็ก (Magnetic field) ประมาณ 2,600 ปีมาแล้ว ชาวกรีกที่อาศัยในเมืองแมกนีเซียได้พบแร่ชนิดหนึ่งซึ่งสามารถดูดเหล็กได้ จึงเรียกแร่นี้ว่า แมกนีไทต์ (magnetite) และเรียกวัตถุที่สามารถดึงดูดเหล็กได้ว่า แม่เหล็ก (magnet) ส่วนวัตถุที่แม่เหล็กส่งแรงกระทำ เรียกว่า สารแม่เหล็ก (magnetic substance)

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม

ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง (Exponential function) -รากที่ n ของจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ 

รากที่ n ของจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ รากที่ n ของจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์  จำนวนจริงในรูปกรณฑ์ กรณฑ์ หรือค่าหลักของราก มีนิยามดังนี้ นิยาม ให้ x, y เป็นจำนวนจริง และ n เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1 จะบอกว่า y เป็นค่าหลักของรากที่ n ของ x ก็ต่อเมื่อ y เป็นรากที่ n ของ x xy ≥ 0 จากนิยามจะเห็นว่า ถ้า y จะเป็นค่าหลักของรากที่ n ของ x ได้ จะได้ต้องมีคูณสมบัติครบทั้งสองข้อ มีข้อใดข้อหนึ่งไม่ได้ และเราจะเขียน  แทนค่าหลักของรากที่ n ของ x อ่านได้อีกอย่างว่า กรณฑ์ที่ n ของ x…

นิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล-คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (Exponential Function) จากการศึกษาในเรื่องเลขยกกำลัง  ซึ่งท้ายที่สุดเราได้สนใจเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนจริงบวก  และเลขชี้กำลังเป็นจำนวนจริงใด ๆ แต่ได้มีนักคณิตศาสตร์ได้สังเกตเห็นว่า  ถ้าเลขยกกำลังมีฐานเป็น 1  และเลขชี้กำลังเป็นจำนวนจริงใด ๆ ดังนี้

เคล็ดลับการเรียน การจัดตารางการอ่านหนังสือ

ช่วงเปิดเทอมใหม่ ไม่รู้ว่าเพื่อนๆ เริ่มมีการวางแผนทบทวนบทเรียนกันบ้างรึยังเอ่ย? อย่าปล่อยเวลาให้เสียเปล่าแล้วไปท่องจำ 1-2 อาทิตย์ก่อนสอบกันเลยนะคะ นอกจากจะทำให้เกิดความเครียด ทำให้เกิดความกังวลในช่วงระยะเวลาก่อนสอบไม่กี่วัน แล้วก็ยังส่งผลให้ประสิทธิภาพในการจำลดน้อยลงไปอีกด้วย เพราะฉะนั้นในช่วงเวลานี้

ติวเลขออนไลน์เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น ( Calculus ) ลิมิตของฟังก์ชัน และ ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน

แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ซึ่งพัฒนามาจากพีชคณิต เราขาคณิต และปัญหาทางฟิสิกส์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้ แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็ว, ความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้. ทฤษฎีของอนุพันธ์หลายส่วนได้แรงบันดาลใจจากปัญหาทางฟิสิกส์

ชนิดของคลื่น(Type of Waves)-ฟิสิกส์

 ชนิดของคลื่น (Type of Waves) คลื่นเป็นปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่รูปแบบหนึ่ง คลื่นสามารถจำแนกตามลักษณะต่าง ๆได้ดังนี้

เลขนัยสำคัญ (Significant Figures)-ฟิสิกส์

เลขนัยสำคัญ (Significant Figures)-ฟิสิกส์

เลขนัยสำคัญ (Significant Figures) คือ ตัวเลขที่ได้จากการวัดโดยใช้เครื่องมือที่เป็นสเกล โดยเลขทุกตัวที่บันทึกจะมีความหมายส่วนความสำคัญของตัวเลขจะไม่เท่ากัน ดังนั้นเลขทุกตัวจึงมีนัยสำคัญ ตามความเหมาะสม เช่น วัดความยาวของไม้ท่อนหนึ่งได้ยาว 121.54 เซนติเมตร เลข 121.5 เป็นตัวเลขที่วัดได้จริง ส่วน 0.04 เป็นตัวเลขที่ประมาณขึ้นมา เราเรียกตัวเลข121.54 นี้ว่า เลขนัยสำคัญ และมีจำนวนเลขนัยสำคัญ 5 ตัว