เรื่องการเท่ากันของเซต

เซต(Set)‎ เรื่องการเท่ากันของเซต ม.ปลาย-คณิตศาสตร์ม.ปลาย

การเท่ากันของเซต การเท่ากันของเซต เซตที่จะเท่ากัน คือ เซตที่เหมือนกันทุกอย่าง นั้นคือ มีจำนวนสมาชิกเท่ากัน และ สมาชิกทุกตัวเหมือนกัน เช่น

สรุปรูปแบบของประโยค past continuous

สรุปรูปแบบของประโยค past continuous ภาษาอังกฤษออนไลน์

Past Continuous Tense คือ ประโยคอดีตกาลต่อเนื่อง ที่ใช้สื่อสารถึงสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นในอดีด สิ้นสุดลงไปแล้ว ซึ่งจะแตกต่างจาก Past Simple Tense

ความสำคัญและการวัดผลของแบรนด์ Brand Awareness คืออะไร?

การใช้ตัวชี้วัดทางการตลาดหรือเครื่องมือชี้วัดเพื่อการประเมินผลความสำเร็จในแต่ละองค์กร แน่นอนว่ามีรูปแบบแตกต่างกันออกไป แต่ไม่ว่าแบรนด์ของท่านจะอยู่ในสายธุรกิจไหน มีขนาดเล็ก หรือ ขนาดใหญ่ การวัดผลมีส่วนสำคัญในการประเมินการเติบโตขององค์กรว่าเป็นไปในทิศทางที่เหมาะสม หรือเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่  ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จากการประเมินผลนั้น ผู้ประกอบการสามารถนำไปวิเคราะห์ เพื่อต่อยอดธุรกิจให้เติบโตอย่างต่อเนื่อ Brand Awareness คืออะไร?

ฟังก์ชันพหุนาม (polynomial function)

ฟังก์ชันพหุนาม (polynomial function) คณิตศาสตร์ ความรู้ ม.ปลาย

ฟังก์ชันพหุนาม (polynomial function) ฟังก์ชันพหุนาม Polynomial Function       พหุนาม คือนิพจน์ที่สร้างจากตัวแปรอย่างน้อยหนึ่งตัวและค่าคงที่ โดยใช้การดำเนินการแค่ การบวก การลบ และการคูณ

คณิตศาสคร์ ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (Relations and Functions) ม.4

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน 1. ผลคูณคาร์ทีเชียน(Cartesian Product) นิยาม คูณคาร์ทีเชียน ของเซต A และ B คือ เซตคู่ลำดับ (a,b) ทั้งหมดโดยที่ a Î A และ b Î B เช่น A = { 1,2,3} , B = {4,5,6} และ A x B คือ ผลคูณคาร์ทีเชียนของเซต A และ เซต B ดังนั้น A x B = {(1,4),(1,5),(1,6),(2,4),(2,5),(2,6),(3,4),(3,5),( 3,6)} 2. ความสัมพันธ์ (Relation) หมายถึง เซตของคู่ลำดับ 2.1 ความสัมพันธ์จะมีขึ้นต้องมีเซตของคู่ลำดับ(Order Pairs)…

คณิตศาสตร์ ม.4 ตรรกศาสตร์-ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ

คณิตศาสตร์ ม.4 ตรรกศาสตร์-ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ ตัวบ่งปริมาณ ตัวบ่งปริมาณ คือ สัญลักษณ์หรือข้อความที่เมื่อเราเอาไปเติมใน “ประโยคเปิด” แล้วจะทำให้ประโยคนั้นกลายเป็นประพจน์

ความรู้พื้นฐาน ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์

ในการเชื่อมประพจน์นั้นบางครั้งจะต้องใช้ตัวเชื่อมหลายตัวมาเชื่อมประพจน์ ซึ่งอาจทำให้เกิดปัญหาในการหาค่าความจริงว่าควรที่จะเริ่มต้นที่ตัวใดก่อน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการลำดับสัญลักษณ์ที่ “คลุมความ” มากที่สุดและรองลงมาตามลำดับ ตารางความจริง คือ ตารางที่สร้างขึ้นเพื่อใช้หาค่าความจริงของประพจน์