รถไฟแม็กเลฟ (MAGLEV) และการลอยตัวของแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic) แม่เหล็กไฟฟ้า ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเพื่อสร้างสนามแม่เหล็ก
แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic) แม่เหล็กไฟฟ้า ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเพื่อสร้างสนามแม่เหล็ก
“ทุกสิ่งที่มีมวล (Mass) จะมีแรงโน้มถ่วง ยิ่งมีมวลมากเท่าใด ก็ยิ่งมีแรงโน้มถ่วงมากขึ้น” แต่ทั้งนี้จุดอ่อนของแรงโน้มถ่วงคือ ระยะทาง กล่าวคือ ถ้าระยะห่างจากวัตถุที่มีแรงโน้มถ่วงเพิ่มมากขึ้น แรงโน้มถ่วงที่จะส่งผลต่อสิ่งนั้นจะต่ำลง หรือก็คือ แรงโน้มถ่วงอ่อนแรงลงตามระยะทางที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นในทางกลับกันแรงโน้มถ่วงก็จะมีผลมากถ้าเราดึงดูดสิ่งที่อยู่ใกล้ ๆ ตัวมัน
สำหรับหมวกกันน็อคที่ออกแบบและผลิตอย่างได้มาตรฐาน ภายในจะมีโฟม ซึ่งมีคุณสมบัติยืดหดได้ เมื่อเกิดการชนและกระแทกจากของแข็ง โฟมที่อยู่ภายในหมวกกันน็อคจะถูกอัดกระแทก ยืดเวลาที่ศีรษะใช้ก่อนหยุดเคลื่อนไหวออกไปประมาณ 6 มิลลิวินาที มีผลในการควบคุมพลังงานจากการชน หมวกกันน็อคยังจะกระจายแรงการกระแทกไปยังพื้นที่ที่กว้างขึ้น ทำให้แรงกระแทกไม่ไปรวมอยู่ ณ พื้นที่เล็กๆ ส่วนใดส่วนหนึ่งของกะโหลกเท่านั้น ทำให้แรงกระแทกต่อเนื้อสมองลดลง แรงหมุนและความตึงเครียดภายในก็จะลดลงด้วย
ไวรัสทำงานอยู่นอกร่างกายมนุษย์ได้เป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน ทั้งน้ำยาฆ่าเชื้อ ทิชชูเปียก เจลล้างมือ และครีมที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ต่างก็มีประโยชน์มากในการกำจัดเชื้อไวรัส แต่ก็ยังไม่ดีเท่าสบู่ธรรมดาๆ
เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าถึงผลของการมีส่วนร่วมในการเล่นกีฬาหรือการออกกำลังกายในกิจกรรมต่างๆ โดยประยุกต์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับเทคนิคเฉพาะทาง เพื่อพัฒนาศักยภาพร่างกายของนักกีฬา ให้สามารถเล่นกีฬาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยหลักวิชาทางด้านสรีรวิทยา จิตวิทยา สังคมวิทยา หรืออื่นๆ ดังนั้นวิทยาศาสตร์การกีฬาจึงเป็นการรวมวิชาต่างๆมากมายหรือที่เรียกว่า สหวิทยาการ ที่มีเนื้อหารสาระครอบคลุมในสาขาวิชาต่างๆ เช่น สรีรวิทยาการกีฬา จิตวิทยาการกีฬา สังคมวิทยาการกีฬา เวชศาสตร์การกีฬา โภชนาการการกีฬา เทคโนโลยีการกีฬา วิทยวิธีทางกีฬา วิทยาการการจัดการการกีฬา อื่นๆ
กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity) เป็นคุณสมบัติของธาตุและไอโซโทปบางส่วน ที่สามารถเปลี่ยนแปลงตัวเองเป็นธาตุหรือไอโซโทปอื่น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้จะมีการปลดปล่อยหรือส่งรังสีออกมาด้วย ปรากฏการณ์นี้ได้พบครั้งแรกโดย เบคเคอเรล เมื่อปี พ.ศ. 2439 ต่อมาได้มีการพิสูจน์ทราบว่า รังสีที่แผ่ออกมาในขบวนการสลายตัวของธาตุหรือไอโซโทปนั้นประกอบด้วย รังสีแอลฟา, รังสีเบต้า และรังสีแกมมา
ความตึงผิว คือ แรงต่อความยาวของผิวสัมผัส (ความพยายามในการยึดผิวของของเหลว)
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
ในช่วงที่โลกของเรามีการแพร่ระบาดของเชื้อโรค เราควรเตรียมความพร้อมร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ ปกติแล้วร่างกายของคนเราได้รับสิ่งแปลกปลอมต่างๆ เข้าสู่ร่างกายอยู่เป็นประจำทุกวัน อาทิ เแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา สารเคมี ฝุ่นละอองที่เจือปนอยู่ในอากาศ เป็นต้น เมื่อสิ่งแปลกปลอมเหล่านี้เข้าสู่ร่างกายโดยระบบทางเดินหายใจ ผิวหนัง ระบบหมุนเวียนโลหิต หรือระบบย่อยอาหารก็อาจทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยและโรคภัยต่างๆ ได้
ตารางธาตุ คือรูปแบบการจัดหมวดหมู่ของธาตุที่ใช้ในปัจจุบัน อยู่ในรูปแบบตาราง ซึ่งมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยในปัจจุบัน มีการจัดเรียงธาตุเรียงตามลำดับตามจำนวนโปรตอนคือ เลขอะตอมจากน้อยไปมาก และใช้สมบัติของธาตุในการพิจารณา