การคิดเชิงตรรกะ(Logical Thinking)

การคิดเชิงตรรกะ(Logical Thinking)

การคิดเชิงตรรกะ(Logical Thinking) ความหมายของความคิด ความคิด (Thinking) เป็นกระบวนกำรทิ่เกิดขึ้นภายในสมอง ซึ่งสำคัญมำกต่อกำรดำรงชีวิตของ มนุษย์ เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ไม่ว่ำจะอยู่ในสถำนที่ใด หรืออิริยบถใด ▪ ส่วนแกนกลาง (ก้านสมอง,ทาลามัส,ซีรีเบลลัม) ส่วนทใช้ควบคุมการทำงานของร่างกาย

การคูณจำนวนลบและบวก

การคูณจำนวนลบและบวก

การคูณจำนวนลบและบวก การคูณของตัวเลข การคูณของจำนวนเต็มจะกระทำในลักษณะเดียวกัน แต่มีเพียงเครื่องหมายที่ต้องใส่ให้ถูกที่มีกฎระเบียบบางอย่างที่มีการปฏิบัติตามในการคูณของจำนวนเต็มดังนี้ 

บวกและลบจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบ

บวกและลบจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบ

บวกและลบจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบ คุณกำลังศึกษาการจำแนกประเภทที่แตกต่างกันของตัวเลข จนถึงตอนนี้คุณมีการศึกษาจำนวนเต็มบวก และตัวเลขทั้งหมดจำนวนเต็มบวก: จำนวนเต็มบวกเริ่มจากเลข 1 และนับต่อไปเรื่อยๆ ดังนี้

เลขยกกำลัง

พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.4 เลขยกกำลัง

เลขยกกำลัง ความหมายเลขยกกำลัง   การยกกำลัง   (อังกฤษ:Exponentiation)   คือ การดำเนินการทางคณิตศาสตร์อย่าง หนึ่งเขียนอยูู่่ในรูป  aⁿ   ซึ่งประกอบด้วยสองจำนวน  คือ  ฐาน  a และ  เลขชี้กำลัง n โดยพื้นฐานแล้วการยกกำลังจะมีความหมายเหมือนกับการคูณ a ซ้ำๆเป็นจำนวน n  ตัว  เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก

ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น

ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น        1. กราฟ กราฟเป็นแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ซึ่งใช้จำลองปัญหาบางปัญหาโดยเขียนแผนภาพที่ประกอบด้วยจุดและเส้น ปัจจุบันมีการนำทฤษฎีกราฟมาประยุกต์ใช้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ เช่น วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา เศรษฐศาสตร์ พันธุศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น บทนิยาม       กราฟ G ประกอบด้วยเซตจำนวน 2 เซต  คือ

ตัวประกอบและการหาตัวประกอบ

ตัวประกอบและการหาตัวประกอบ

ตัวประกอบและการหาตัวประกอบ จำนวนนับ คือ จำนวนเต็มบวก ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, … การหารลงตัว คือ การหารที่ไม่มีเศษ หรือเศษเป็น “0”

ทศนิยมและเศษส่วน

สรุปเนื้อหา ทศนิยมและเศษส่วน

ทศนิยมและเศษส่วน ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน การเขียนเศษส่วนให้อยู่นรูปทศนิยมและการเขียนทศนิยม ให้อยู่ในรูปเศษส่วนนั้น สามารถใช้หลักการเขียน ดังนี้

พื้นที่ผิวและปริมาตร-คณิตศาสตร์

พื้นที่ผิวและปริมาตร-คณิตศาสตร์

พื้นที่ผิวและปริมาตร ปริซึม ในทางคณิตศาสตร์ ให้ความหมายคำว่า ปริซึม ดังนี้ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งสองอยู่บนระนาบเดียวกัน และด้านข้างแต่ละด้านเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน หรือเรียกง่ายๆว่า แท่งเหลี่ยมตัน    สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับปริซึม ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน X ความสูง

ระบบเชิงเส้น คณิตศาสตร์

ระบบเชิงเส้น คณิตศาสตร์ ม. 3

คณิตศาสตร์ ม. 3 ระบบเชิงเส้น บทเรียนย่อย – การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง – สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว – สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว – ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร – สมการเชิงเส้นสองตัวแปร  การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง เมื่อ a = 1 ..พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว (quadratic polynomial with one variable) คือ พหุนามที่เขียนได้ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว ที่ a ≠ 0 และ x เป็นตัวแปร ในกรณีที่ a = 1 และ c ≠ 0 พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวจะอยู่ในรูป x2 + bx + c ซึ่งเราสามารถแยกตัวประกอบได้โดยการหา จำนวนเต็มสองจำนวนที่คูณกันได้เท่ากับพจน์ที่เป็นค่าคงตัว c และบวกกันได้เท่ากับสัมประสิทธิ์ของ x คือ…