สรุปเนื้อหาเตรียมสอบเรื่องทฤษฎีจำนวน ม.4

สรุปเนื้อหาเตรียมสอบเรื่องทฤษฎีจำนวน ม.4 สรุปเนื้อหาที่สำคัญ – การหารลงตัว – จำนวนเฉพาะ – ขั้นตอนวิธีการหาร – การแปลงเลขฐาน – การหารร่วมมาก – ตัวคูณร่วมน้อย สมบัติการหารลงตัว ทฤษฎีบทที่ 1       กำหนด a, b, c เป็นจำนวนเต็มใดๆ ถ้า a | b และ b | c แล้วจะได้ a | c ทฤษฎีบทที่ 2       กำหนด a, b เป็นจำนวนเต็มบวก ถ้า a | b แล้วจะได้ a ≤ b ทฤษฎีบทที่ 3        กำหนด a, b, c เป็นจำนวนเต็มใดๆ ถ้า a…

การติวเรียนพิเศษออนไลน์ควบคู่กับการเรียนในห้องเรียนดีอย่างไร

การติวเรียนพิเศษออนไลน์ควบคู่กับการเรียนในห้องเรียนดีอย่างไร?

เรียนพิเศษออนไลน์ ม.ปลาย ในยุคปัจจุบัน การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นถึงตอนปลาย (มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6) ซึ่งจะต้องมุ่งเน้นการเรียนการเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้าน ในด้านความถนัด ในด้านความสามารถ และในด้านความสนใจ แต่ละคน ทั้งด้านการเรียนและด้านวิชาชีพ ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูงสามารถนำความรู้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น

ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) และ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.)

ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) และ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) เรียนเลขออนไลน์

ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) คือ ตัวหารร่วม (หรือตัวประกอบร่วม) ที่มีค่ามากที่สุด ที่นำไปหารจำนวนนับชุดใด(ตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป) ได้ลงตัว เช่น ห.ร.ม. ของ 8 และ 12 คือ 4 เพราะ 4 คือจำนวนที่มากที่สุดที่หารทั้ง 8 และ 12 ได้ลงตัว

ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น ม.4

ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น ม.4

ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น ม.4 จำนวนจริง , ระบบจำนวนจริง , ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น เวลาสอบ PAT 1 พี่หนึ่งจะรวมให้มันอยู่บทเดียวกันเลย เพราะเนื้อหามันต่อเนื่องกันนะจ๊ะ 🙂 ) น้องๆส่วนใหญ่จะไม่ชอบบทนี้โดยเฉพาะถ้าที่โรงเรียนคุณครูเน้นการพิสูจน์

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory)

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory) เบื้องต้น

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory) นิยาม ถ้า m และ n เป็นจำนวนเต็ม โดยที่ n≠0 แล้ว n หาร m ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจำนวนต็ม c เพียงจำนวนเดียวเท่านั้น ซึ่ง m = nc เรียก n ว่าตัวหารหนึ่งของ m   สัญลักษณ์ n|m หมายถึง n หาร m ลงตัว   n|/m หมายถึง n หาร m ไม่ลงตัว

ความสัมพันธ์-คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน

ความสัมพันธ์-คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน

ความสัมพันธ์‎ ‎ คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เกิดจากสิ่งสองสิ่งมาเกี่ยวข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์บางอย่าง เช่น ความสัมพันธ์ของ a กับ b ซึ่ง a มากกว่า b เป็นต้น

สัจพจน์ความบริบูรณ์

       จำนวนจริง-สัจพจน์ของความบริบูรณ์

    สัจพจน์ของความบริบูรณ์      สัจพจน์ความบริบูรณ์ หรือ สัจพจน์การมีค่าขอบเขตบนน้อยสุด (Least upper bound axiom)               บทนิยาม        ถ้า S เป็นสับเซตของ R                 S จะมีขอบเขตบนก็ต่อเมื่อ มีจำนวนจริง a ที่ทำให้ x ≤ a

สมองทำงานอย่างไร

สมองทำงานอย่างไร มาดูกันครับ

ส่วนประกอบของสมอง สมองในผู้ใหญ่จะมีน้ำหนักเฉลี่ยประมาณ 3 ปอนด์ โดยร้อยละ 60 ของสมองคือไขมัน ส่วนที่เหลือ ร้อยละ 40 เป็นส่วนประกอบของ น้ำ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และเกลือ สมองไม่ได้เป็นกล้ามเนื้อ ประกอบด้วยเส้นเลือดและเส้นประสาท รวมถึงเซลล์สมอง (Neurons) และ Glial cell

สรุปเวกเตอร์ คณิตศาสตร์ ม.5

สรุปเวกเตอร์ คณิตศาสตร์ ม.5

เวกเตอร์ คณิตศาสตร์ ม.ปลาย กำหนดเส้นตรง XX’ , YY’ และ ZZ’ เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด O และตั้งฉากซึ่งกันและกันโดยกำหนด ทิศทางของเส้นตรงทั้งสามเป็นระบบมือขวา ดังรูป ถ้าเส้นตรงทั้งสามเป็นเส้นจำนวน (real line) จะเรียกเส้นตรง XX’ , YY’ และ ZZ’ ว่า แกนพิกัด X แกนพิกัด Y และ แกนพิกัด Z หรือเรียนสั้นๆ ว่า แกน X (x-axis) แกน Y (y-axis) และ แกน Z (z-axis) และเรียนจุด O ว่า จุดกำเนิด (origin) ดังรูป เรียกส่วนของเส้นตรง OX OY และ OZ ว่า แกน…