อัปเดต คณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4/ ม.5/ ม.6) มีเรียนอะไรบ้าง ?

อัปเดต คณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4/ ม.5/ ม.6) มีเรียนอะไรบ้าง ?

อัปเดต คณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4/ ม.5/ ม.6) มีเรียนอะไรบ้าง ? คณิตศาสตร์ ม.4 เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 1 มี ดังนี้ บทที่ 1 เซต ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ การดำเนินการระหว่างเซต คุณสมบัติของการดำเนินการระหว่างเซต การแก้ปัญหาโดยใช้เซต บทที่ 2 ตรรกศาสตร์ ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ การหาค่าความจริงของประพจน์ การสมมูลและนิเสธของประพจน์ สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล ตัวบ่งปริมาณและประโยคเปิด บทที่ 3 จำนวนจริง ระบบจำนวนจริง และสมบัติของระบบจำนวนจริง พหุนามตัวแปรเดียว การแยกตัวประกอบของพหุนาม สมการพหุนาม อสมการพหุนาม ค่าสัมบูรณ์ เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 2 มีดังนี้ บทที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน การใช้ฟังก์ชันในชีวิตจริง กราฟของฟังก์ชัน…

เคมี ม.6 เรื่องพอลิเมอร์ เคมี ม.ปลาย

เคมี ม.6 เรื่องพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ (polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ ของสาร (repeating unit) ที่อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเคมี เรียกว่า พันธะโควาเลนต์ (Covalent bond) 1.มอนอเมอร์(monomer) คือ หน่วยเล็กๆ ในพอลิเมอร์

 โมลและสูตรเคมี

 โมลและสูตรเคมี มวลอะตอม เนื่องจากอะตอมมีขนาดเล็กมาก มวลของอะตอมก็น้อยมากเช่นกัน การที่จะวัดมวลอะตอมจึงทำได้ยาก ดังนั้นจึงได้มีการนิยามมวลอะตอม (atomic mass) เป็นมวลอะตอมสัมพัทธ์ (relative atomic mass) เปรียบเทียบกับธาตุที่กำหนด โดยเริ่มแรกนั้น ดอลตัน (John Dalton) ได้กำหนดให้

พันธะเคมี(Chemical Bond)

พันธะเคมี(Chemical Bond)

พันธะเคมี(Chemical Bond) พันธะเคมี (Chemical Bonding) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นระหว่างอนุภาคมูลฐานหรืออะตอม (Atom) ซึ่งเป็นการดึงดูดเข้าหากัน เพื่อสร้างเสถียรภาพในระดับโมเลกุล

เคมีอินทรีย์  (Organic Chemistry)-เคมี ม.6 ออนไลน์

เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) สารประกอบอะโรมาติก คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัวที่มีคาร์บอนต่อกันเป็นวง มีจำนวน อิเล็กตรอนเป็น 4n+2 เมื่อ n = 1, 2,3 และอิเล็กตรอนเหล่านี้ไม่อยู่ประจำที่ สารที่เราคุ้นเคยได้แก่ เบนซีน (benzene) มีสูตรเคมี คือ C₆H₆ ซึ่งคาร์บอนทั้งหกอะตอมต่อกันเป็นหกเหลี่ยมและคาร์บอนทุก ๆ อะตอมอยู่ในระนาบเดียวกันและมีจำนวน 6 อิเล็กตรอน

โมลและสูตรเคมี-เคมีม.ปลาย

โมลและสูตรเคมี-เคมีม.ปลาย

โมลและสูตรเคมี โมล (mole หรือ mol) เป็นหน่วยเรียกในระบบ SI โดยสัญลักษณ์ของโมล คือ mol หมายถึง ปริมาณสารที่ประกอบไปด้วยอนุภาค (อะตอม โมเลกุล หรืออนุภาคอื่น) เท่ากับจำนวนอะตอมของไอโซโทป C-12 จำนวน 12 กรัม ซึ่งได้ว่า 1 mole = 6.02 x 1023 อนุภาค = Avogadro’s number

เคมีไฟฟ้า

 เคมีไฟฟ้า(Electrochemistry) เคมี ม.ปลาย

 เคมีไฟฟ้า(Electrochemistry) เคมี ม.ปลาย โดยปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) ก็คือ ปฏิกิริยาที่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันของสาร โดยปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าสามารถแยกออกเป็นปฏิกิริยาย่อย (หรือที่เรียกว่า ครึ่งปฏิกิริยา) ได้ 2 ปฏิกิริยา ได้แก่ ครึ่งปฏิกิริยาที่มีการให้อิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยาออกซิเดซัน ครึ่งปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยารีดักซัน