โครงสร้างของอะตอม-ฟิสิกส์

โครงสร้างของอะตอม อะตอม เป็นโครงสร้างขนาดเล็กมากมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ที่พบได้ในสิ่งของทุก ๆ อย่างรอบตัวเรา อะตอมประกอบไปด้วยอนุภาค 3 ชนิด คือ: อิเล็กตรอน  ซึ่งมีประจุลบโปรตอน  ซึ่งมีประจุบวกนิวตรอน  ซึ่งไม่มีประจุ

พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์

พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์

พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ ฟิสิกส์ยังเป็นความรู้พื้นฐานที่จะนำไปใช้พัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ ให้ก้าวหน้าขึ้น 1.1 การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ กระบวนการความรู้ทางฟิสิกส์ไม่ได้เกิดจากการค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ของคนเพียงคนเดียว แต่เกิดจากการสรุปข้อมูลที่สะสมไว้ของคนจำนวนมากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ มี 2 แนวทางหลัก ๆ ดังนี้ 1) การสังเกต การทดลอง การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลเป็นแนวคิด หลักการ หรือกฎต่าง ๆ 2) การสร้างแบบจำลองทางความคิดเพื่อสรุปเป็นทฤษฎี และใช้ทำนายสิ่งที่อาจเกิดขึ้น 1.2 พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ การพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ เกิดได้หลายปัจจัย เช่น การพัฒนาเครื่องมือให้มีความละเอียดมากขึ้น การเปลี่ยนมุมมองใหม่ หรือการค้นพบทฤษฎีใหม่ ๆ เป็นต้น ในอดีต การนำเสนอแนวคิดใหม่ ๆ เพื่อล้มล้างแนวคิดเก่ามักจะโดนต่อต้าน จึงต้องพิสูจน์ให้ได้ว่าแนวคิดใหม่นั้นถูก และแนวคิดเก่านั้นผิด ซึ่งมีตัวอย่างพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์อยู่ 3 สาขา การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ มี 2 แนวทางหลัก ๆ ดังนี้ 1) ด้านกลศาสตร์ กาลิเลโอ (Galileo…

ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์

เนื้อหาฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1 เรื่องธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์

เนื้อหาฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์ บทแรกนี้จะเรียนพื้นฐานที่จะต้องได้เจอในการเรียนฟิสิกส์ โดยจะเริ่มตั้งแต่หน่วยการวัด การเขียนเลขแบบสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ทำนำหน้าหน่วย เลขนัยสำคัญ การใช้เครื่องมือวัด ความคลาดเคลื่อน โดยจะเห็นว่าเรื่องที่เรียนเป็นการเตรียมความพร้อมที่จะรายงานค่าและวิเคราะห์ผลทางฟิสิกส์

Comparison การเปรียบเทียบ

Comparison การเปรียบเทียบ ในภาษาอังกฤษ

Comparison การเปรียบเทียบ     การเปรียบเทียบแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ       1.    การเปรียบเทียบแบบเท่ากัน และไม่เท่ากัน (Equality and Unequality)      2.    การเปรียบเทียบขั้นกว่า (Comparative Degree)      3.    การเปรียบเทียบขั้นสูงสุด (Superative Degree)

การใช้ Noun Clauses ภาษาอังกฤษ

การใช้ Noun Clauses ภาษาอังกฤษ

หลักการใช้ Noun Clauses Noun Clauses คืออนุประโยค ซึ่งทำหน้าที่เป็นคำนามในประโยค เป็นได้ทั้งประธาน (Subject noun clauses) หรือกรรม (Object noun clauses

ภาษาอังกฤษ ระดับชั้น ม.6 เรื่อง The Present Perfect & Past Perfect

ภาษาอังกฤษ ระดับชั้น ม.6 เรื่อง The Present Perfect & Past Perfect

The Present Perfect & Past Perfect -present perfect ใช้ has, have บวกกริยาช่องที่สาม หมายถึงเหตุการณ์ที่ดำเนินอยู่ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน และมีแนวโน้มจะดำเนินต่อไปในอนาคต เช่น I have worked here for ten years ฉันทำงานที่นี่มาสิบปีแล้ว หรืออาจจะทำจบไปแล้ว แต่ผลของการกระทำยังคงอยู่ก็ได้ เช่น I have just finished my work

ประโยคความซ้อน Complex Sentences

ประโยคความซ้อน Complex Sentences-ภาษาอังกฤษออนไลน์

ประโยคความซ้อน Complex Sentences Dependent clause อนุประโยครองหรืออนุประโยคขยายจึงเป็นส่วนทำให้เกิดประโยคความซ้อนขึ้นมาเมื่อรวมกับอนุประโยคหลัก Independent clause เมื่อเป็นอย่างนี้การเรียนเรื่องประโยคความซ้อนก็คือการทำความเข้าใจ Dependent clause หรืออนุประโยค

ภาษาอังกฤษ การใช้ that-clause

ภาษาอังกฤษ การใช้ that-clause

การใช้ that-clause อย่างง่ายและเข้าใจ That-clause คือนามานุประโยคชนิดหนึ่งซึ่งสามารถทำหน้าที่เป็น ประธาน กรรมของประโยค และส่วนเติมเต็มของคำนามหรือ Noun/Subject complement ได้ อย่างไรก็ตามคำว่า that ที่ใช้เขียนขึ้นต้นนามานุประโยคเป็นคำที่ทำหน้าที่ทางไวยกรณ์เท่านั้นแต่ไม่มีความหมายใดๆเลย ดังนั้นในบางครั้งจึงอาจละคำว่า that ได้ในกรณีที่ปรากฏอยู่ในตำแหน่งกรรม นอกจากนี้ that-clause ยังสามารถใช้ตามหลังคำนามที่เป็นนามธรรมและคำคุณศัพท์ที่แสดงอารมณ์หรือลักษณะได้ด้วย ดูตัวอย่างการใช้ that-clauseได้ดังต่อไปนี้ครับ