GAT เชื่อมโยง คืออะไร

GAT เชื่อมโยง คืออะไร

วันนี้มีเคล็ดลับทำ GAT เชื่อมโยง มาฝากสำหรับน้อง ๆ จะเป็นยังไง เอาเป็นว่าไปดูกัน GAT เชื่อมโยง คืออะไร GAT เชื่อมโยง เป็นส่วนหนึ่งของข้อสอบความถนัดทั่วไป (GAT – General Aptitude Test) ซึ่งนอกจากจะมี GAT เชื่อมโยงแล้ว ยังมี GAT ภาษาอังกฤษอีกด้วย โดยแต่ละส่วน จะมี 150 คะแนนเท่า ๆ กันและใช้เวลาสอบ ส่วนละ 1 ชั่วโมง 30 นาที “ สำหรับ GAT เชื่อมโยง” เป็นข้อสอบที่ใช้วัดทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ การเขียนเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงวิเคราะห์และการแก้ปัญหา ซึ่งข้อสอบลักษณะนี้จะไม่มีบรรจุเป็นหลักสูตรในโรงเรียน ความยากของข้อสอบแต่ละปีก็จะมีดีกรีความเข้มข้นไม่เท่ากัน อย่าลืมนะคะว่าคะแนนจากการสอบ GAT เชื่อมโยง เป็นหนึ่งในค่าน้ำหนักคะแนนรอบต่าง ๆ ของระบบ TCAS โดยเฉพาะรอบที่ 3 (รับตรงร่วมกัน) เดิม…

มาดูวิธีเปลี่ยนทศนิยมซ้ำให้เป็นเศษส่วนแบบง่ายๆและเข้าใจกัน

มาดูวิธีเปลี่ยนทศนิยมซ้ำให้เป็นเศษส่วนแบบง่ายๆ ทศนิยม     คือ จำนวนจริงที่มีเครื่องหมาย . (จุดทศนิยม) วางอยู่ระหว่างจำนวนเต็ม เช่น 1.25, 0.347, 4.0, -3.64 เป็นต้น ประเภทของทศนิยมมี 2 ประเภท คือ ทศนิยมซ้ำ กับ ทศนิยมไม่ซ้ำ (ในที่นี้จะกล่าวถึงแต่ทศนิยมซ้ำ)

ชนิดของเซต

ชนิดของเซต-เรื่องเซต(Set) ม.4 ออนไลน์

ชนิดของเซต-เรื่องเซต(Set) ม.4 เซตว่าง             เซตว่าง  คือ เซตที่ไม่มีสมาชิก สัญลักษณ์ที่ใช้ในเซตว่าง คือ {} หรือ( อ่านว่าไฟ (phi))

แผนภาพของเวนน์ และออยเลอร์ (Venn-Euler Diagram)

แผนภาพของเวนน์ และออยเลอร์ (Venn-Euler Diagram) แผนภาพของเวนน์ และออยเลอร์ (Venn-Euler Diagram)นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อนายจอห์นเวนน์( John Venn) และนัก คณิตศาสตร์ชาวสวิสเซอร์แลนด์ ชื่อนายเลียวนาร์ดออลเลอร์ ( Leonard Euler )

การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมมากกว่า 1 ตัวเชื่อม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมมากกว่า 1 ตัวเชื่อม การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตวัเชื่อมหลาย ๆ ตัวเชื่อม จะตอ้งรู้ค่าความจริงของประพจน์ย่อย ๆ แลว้หาค่าความจริงของประพจน์ผสม โดยหาค่าความจริงที่อยู่ ในวงเล็บก่อน จากนั้น หาค่าความจริงตามลำดับความสำคัญของตัวเชื่อม

ตัวเชื่อม และ หรือ ถ้า…แล้ว… ก็ต่อเมื่อ นิเสธ ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

ตัวเชื่อม และ หรือ ถ้า…แล้ว… ก็ต่อเมื่อ นิเสธ  ตารางค่าความจริง คือ ตารางที่สร้างขึ้น   เพื่อบอกว่าค่าความจริงของแต่ละประพจน์คืออะไร โดยที่ตารางค่าความจริงจะต้องแสดงค่าความจริงของประพจน์ ในทุกกรณี ซึ่งจำนวนกรณีจะมีค่าเท่ากับ จำนวนประพจน์ย่อย2จำนวนประพจน์ย่อยๆ

ติวเลขความน่าจะเป็น(Probability)-ความน่าจะเป็น ม.5

ติวเลขความน่าจะเป็น(Probability)-ความน่าจะเป็น ม.5

ติวเลขความน่าจะเป็น (Probability)  ความน่าจะเป็น 1.   อธิบายความหมายของการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเท่า ๆ กันได้