ปฏิทินกำหนดการสอบ GAT/PAT ปีการศึกษา 2563
ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับการสอบ ปีการศึกษา 2563
ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับการสอบ ปีการศึกษา 2563
ภาษาอังกฤษคำว่า “Make Sense” คือ?และใช้อย่างไร?
สำหรับน้องๆ ที่ตั้งใจว่าจะเตรียมตัวสอบ O-NET ต้องห้ามพลาดเพราะวันนี้พี่จูนจูนจะพาน้องๆ มาร่วมผ่าข้อสอบ O-NET ภาษาอังกฤษ ปีพ.ศ.2562 หรือปีล่าสุดนั่นเองค่ะ มาดูกันว่าข้อสอบมีกี่พาร์ท เรื่องไหนออกสอบเยอะ เรื่องไหนเรียกว่าออกมาช่วยเราเพราะได้คะแนนง่ายสุดๆ สำหรับน้องๆ ที่คิดจะเท O-NET ภาษาอังกฤษ พี่จูนจูนขอเตือนไว้ตรงนี้เลยนะคะว่าคะแนน O-NET มีสัดส่วนถึง 30% ใน TCAS รอบ 3 ใครจะเท เปลี่ยนใจด่วนๆ อ่านบทความนี้แล้วรีบเตรียมตัวเลย สำหรับข้อสอบ O-NET วิชาภาษาอังกฤษนั้น ประกอบไปด้วยข้อสอบทั้งสิ้นจำนวน 80 ข้อ ข้อละ 1.25 คะแนน ดังนั้นคะแนนรวมจะเท่ากับ 100 คะแนนค่ะ โดยมีเวลาให้ทำข้อสอบ 2 ชั่วโมง รู้จำนวนข้อสอบ และเวลาที่ใช้สอบแล้ว เรามาดูเนื้อหา 4 เรื่องใหญ่ๆ ที่มักออกสอบกันเลย 1. Conversation > 15 ข้อ ง่ายที่สุด ครบเก็บ…
การแบ่งเซลล์ (CELL pISION) การเจริญเติบโต และการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์ 2 ขบวนการ คือ การแบ่งตัวของนิวเคลียส (KARYOKINESIS) และการแบ่งตัวของไซโทพลาซึม (CYTOPLASM) เมื่อการแบ่งตัว ของนิวเคลียสสิ้นสุด ขบวนการแบ่งตัวของไซโทพลาสซึมทันที
โครงสร้างและองค์ประกอบของเซลล์ (Cell Structure and Organelles) รูปที่ 1 เเสดงผนังเซลล์พืชซึ่งเป็นสารประเภทเซลลูโลส รูปที่ 2 เเสดงผนังเซลล์แบคทีเรียซึ่งเป็นสารประเภทเปปติโดไกลเคน ผนังเซลล์ (cell wall) – ป้องกันไม่ให้ของเหลวต่าง ๆ ภายในเซลล์ได้รับอันตราย – พบในเซลล์พืช และแบคทีเรีย – องค์ประกอบทางเคมีเป็น เซลลูโลส (cellulose) สำหรับพืช และ เปปติโดไกลเคน (peptidoglycan) สำหรับแบคทีเรีย – เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์แต่จะมี extracellular matrix (ECM) ประกอบด้วย สารพวก glycoproteinsเช่น collagen , proteoglycan complex และ fibronectin รวมทั้งคาร์โบไฮเดรทสายสั้นๆ ฝังอยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ รูปที่ 3 เเสดงโครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) – ลักษณะเป็นเยื่อบาง ๆ…
ประเภทของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต 1. โปรคาริโอติค เซลล์ (prokaryotic cell) – ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสห่อหุ้มสารพันธุกรรม (genetic material) – มีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ได้แก่ ไรโบโซม ขนาด 70S ไม่มี Cytoskeleton – เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว อยู่เป็นเซลล์เดียว หรือ colony – DNA ไม่มีโปรตีน เป็นแบบวงปิด ประกอบด้วย Structural DNA 1 ชุด Plasmid DNA หลายชุด – ผนังเซลล์ไม่เป็น Peptidoglycan – Asexual Reproduction แบบ Binary fission – ได้แก่ แบคทีเรีย และสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (cyanobacteria) ในอาณาจักโมเนอรา (K. Monera) Prokaryoteแบ่งเป็น 2 กลุ่ม…
ความหมายเซลล์และประวัติการศึกษาเซลล์ ความหมายของเซลล์ เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตทำหน้าที่หรือกระบวนการต่าง ๆ ในการดำรงชีวิต ซึ่งรูปร่างของเซลล์แต่ละอย่างจะแตกต่างกันมากแต่จะมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกัน ประวัติของเซลล์ ประมาณ พ.ศ. 2133 (ค.ศ. 1590) Zaccharias Janssen และ Hans Janssen ในการประดิษฐ์เครื่องมือสำหรับส่องและขยายภาพของสิ่งที่มีขนาดเล็กให้สามารถมองเห็นได้ชัดเจนขึ้น เรียกเครื่องมือชนิดนี้ว่า “กล้องจุลทรรศน์” พ.ศ. 2216 อันตน ฟัน เลเวนฮุก (Anton Van Leeuwenhoek) นักวิทยาศาสตร์ชาวฮอลันดา ผลงานประดิษฐ์แว่นขยายธรรมดา ให้มีกำลังขยายมากขึ้น และใช้ส่องดูสิ่งต่างๆ เช่นเลืด อสุจิ น้ำจากแหล่งน้ำ พบแบคทีเรีย สาหร่าย โพรโตซัวเป็นผู้ค้นพบจุลินทรีย์เป็นคนแรก โรเบิร์ตฮุค พ.ศ.2208 ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่ประดิษฐ์ขึ้นตรวจดูชิ้นไม้คอร์คที่ฝานบางๆ พบว่าชิ้นไม้คอร์กประกอบด้วย ช่องขนาดเล็มมากมายเขาจึงตั้งชื่อแต่ละช่องว่าง เรียกว่าเซลล์ (CELL) ชิ้นไม้คอร์ก เป็นเซลล์ที่ตายแล้วเหลืออยู่แต่ผนังเซลล์(cell wall) ที่แข็งแรงประกอบไปด้วยสารพวก เซลลูโลส และ ซูเบอริน ธีออร์ดอร์ ชวานน์(Theodor Schwan)…
1. ถามนำขึ้นต้นด้วย Verb to be ถ้าประโยคนั้นมี Verb to be ให้นำมาวางข้างหน้าได้เลย ดังเช่นรูปประโยคต่อไปนี้ ประโยคบอกเล่า ประโยคคำถาม การตอบ He is a teacher. (เขาคือคุณครู) Is he a teacher? (เขาคือคุณครูใช่ไหม?) Yes, he is. (ใช่ เขาเป็น) No, he isn’t. (ไม่ เขาไม่ได้เป็น) You are Japanese. (คุณเป็นคนญี่ปุ่น) Are you Japanese? (คุณเป็นคนญี่ปุ่นใช่ไหม?) Yes. I’m. (ใช่ ฉันเป็น) No, I’m not.…
คำกริยาภาษาอังกฤษเมื่อใช้ในประโยคที่มีประธานเป็นพหูพจน์ก็จะต้องเติม -s หรือ -es ท้ายคำ แต่เคยสังเกตุกันบ้างไหมว่าคำไหนต้องเติม -s คำไหน -es