วิธีการ แยกตัวประกอบ ตัวประกอบของจำนวนนับ
วิธีการ แยกตัวประกอบ ตัวประกอบของจำนวนนับ
วิธีการ แยกตัวประกอบ ตัวประกอบของจำนวนนับ
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ เรื่อง แคลคูลัส
สรุปเนื้อหาเตรียมเรียน และ สอบ เรื่องทฤษฎีจำนวน
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น -การหารลงตัว
ทฤษฎีจำนวน (Number theory)
จำนวนจริง (Real number) จำนวนจริง(Real Number) 1. จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น √2 , √3, √5, -√2, – √3, -√5 หรือ ¶ ซึ่งมีค่า 3.14159265… 2. จำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น เขียนแทนด้วย 0.5000… เขียนแทนด้วย 0.2000… • ระบบจำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะยังสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนหรือทศนิยมซ้ำได้ แต่ไม่เป็นจำนวนเต็ม ตัวอย่างเช่น 2. จำนวนเต็ม…
เซต คืออะไร เซต คือ กลุ่มของสมาชิก (element) ของสิ่งที่สนใจ เช่น เซตของวันในหนึ่งสัปดาห์ หมายถึง กลุ่มของวันจันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ เป็นต้น ซึ่งคำว่าเซตนั้นมีคุณสมบัติที่สำคัญคือ ต้องสามารถระบุได้ว่า อะไรอยู่ในเซต อะไรไม่อยู่ในเซต โดยเราสามารถเขียนเซตได้
จำนวนจริง ( Real Numbers ) ประกอบด้วย จำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ 1) จำนวนตรรกยะ (Rational Numbers) คือจำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนได้เมื่อเศษและส่วนเป็นจำนวนเต็มและ “ส่วนมีค่าไม่เท่ากับ 0 ”
หลักการในการหาพจน์ทั่วไปของลำดับ จากลำดับแบบแจงพจน์ที่กำหนดให้ เราสามารถใช้หลักการในการหาได้ ดังนี้
ลำดับเรขาคณิต (Geometric Sequences) นิยาม ลำดับเรขาคณิต (Geometric Sequences) คือ ลำดับที่มีอัตราส่วนระหว่างสองพจน์ใด ๆ ที่อยู่ติดกันมีค่าเท่ากัน ตลอด หรือ ลำดับที่เปลี่ยนแปลงไปทีละเท่าตัว (จะกี่เท่าก็ได้ครับ) นิยาม ลำดับเรขาคณิต คือ ลำดับที่มีอัตราส่วนร่วม [Common ratio ตัวย่อ r] ระหว่างพจน์ที่ n+1 [an+1] กับพจน์ที่ n [an] มีค่าคงที่ สำหรับทุกๆ จำนวนเต็มบวก n อัตราส่วนร่วม (Common Ratio) คือ อัตราส่วนที่เกิดจากพจน์หลังหารด้วยพจน์หน้าที่อยู่ติดกัน