แม่เหล็กไฟฟ้า ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า-ฟิสิกส์ม.ปลาย

ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก (magnetic field) หมายถึง บริเวณที่มีแรงแม่เหล็กกระทำ โดยสนามแม่เหล็กเป็นบริเวณรอบ ๆ แท่งแม่เหล็ก ซึ่งมีแรงแม่เหล็กกระทำต่อวัตถุ  ความเข้มและทิศทางของสนามแม่เหล็กแสดง เส้นแรงแม่เหล็ก และนักวิทยาศาสตร์ได้ตีความเกี่ยวกับคำว่าสนามไว้ว่ามันคือเราไม่สามารถมองเห็นได้  

กฎของบิโอต์-ซาวารต์ (Biot–Savart law)

แม่เหล็กไฟฟ้า กฎของบิโอต์-ซาวารต์ (Biot–Savart law)ฟิสิกส์ออนไลน์

กฎของบีโอต์-ซาวารต์ (อ่านว่า ซาวา) (Biot-Savart Law) เป็นกฎทางฟิสิกส์ว่าด้วยสนามแม่เหล็ก ณ จุดใด ๆ ที่อยู่ห่างไปจากแหล่งกำเนิดสนามแม่เหล็กที่มีกระแสไฟฟ้าหรือประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่อยู่ โดยระบุได้ทั้งขนาดและทิศทางของสนามแม่เหล็กซึ่งเป็นปริมาณเวกเตอร์ จุดเด่นของกฎของบีโอต์-ซาวารต์นั้นก็คือเป็นคำตอบกำลังสองผกผันของกฎของอองแปร์ กฎนี้ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ชอง-บับตีสต์ บีโอต์ (Jean-Baptiste Biot) และเฟลีส์ ซาวารต์ (Félix Savart) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่ง

ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetism)

ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetism)ฟิสิกส์ ม.ปลาย

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากการศึกษาเกี่ยวกับไฟฟ้าสถิต ไฟฟ้ากระแสและไฟฟ้า แม่เหล็ก สรุปหลักการ ที่สำคัญได้ดังนี้ คือ

อินเตอร์เน็ตเร็วเท่าไหร่ถึงจะพอ

มาดูระดับอินเทอร์เน็ตความเร็วเท่าไหร่และใช้ทำอะไรได้บ้าง ?

สำรวจการใช้งาน ถ้าอยากรู้ว่า เราต้องสมัครอินเตอร์เน็ตเร็วเท่าไหร่ถึงจะพอสำหรับการใช้งาน ให้เราสำรวจง่าย ๆ ว่าการใช้งานพร้อม ๆ กันสูงสุดคือเท่าไหร่

เคมี ม.5 เคมีไฟฟ้า-การหาเลขออกซิเดชัน

 เลขออกซิเดชันหรือสถานะออกซิเดชัน (Oxidation State) คือค่าประจุของแต่ละอะตอม (ถ้าถือว่าการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์) ในโมเลกุล โดยมีหลักการในการกำหนดเลขออกซิเดชันดังนี้

ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ(Logical Quantifier)-ตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ออนไลน์

ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ(Logical Quantifier)-ตรรกศาสตร์ ประโยคเปิด ประโยคเปิด คือประโยคบอกเล่าหรือปฏิเสธที่มีตัวแปร ประโยคเปิดไม่สามารถบอกค่าความจริงได้ แต่ถ้าแทนค่าตัวแปรลงไป ประโยคเปิดจะกลายเป็นประพจน์ กล่าวคือสามารถบอกค่าความจริงได้

ตรรกศาสตร์ ภาคแสดงและตัวบ่งปริมาณ (Predicate Logic and Quantifiers)

ตรรกศาสตร์ภาคแสดงและตัวบ่งปริมาณ-คณิตศาสตร์ม.ปลาย

ตรรกศาสตร์ ภาคแสดงและตัวบ่งปริมาณ (Predicate Logic and Quantifiers) ตัวบ่งปริมาณ เราจะกำหนดให้ P(x) เป็นประโยคเปิดใดๆ ตัวบ่งปริมาณ คือ สัญลักษณ์หรือข้อความที่เมื่อเราเอาไปเติมใน “ประโยคเปิด” แล้วจะทำให้ประโยคนั้นกลายเป็นประพจน์

ประพจน์ที่สมมูลกัน

มาดูการใช้รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน-ตรรกศาสตร์ ม.4

ใช้รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน เพราะถ้าเรารู้ว่าประพจน์ไหนสมมูลกับประพจน์อาจจะทำให้การตรวจสอบการเป็นสัจนิรันดร์และการหาค่าความจริงง่ายขึ้น รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกันที่สำคัญ 1. p ∧ ~p ≡ F 2. p ∨ ~p ≡ T 3. p ∧ T ≡ p 4. p ∨ F ≡ p 5. ~(~p) ≡ p 6. p ∨ q ≡ q ∨ p 7. p ∧ q ≡ q ∧ p 8. ( p ∨ q ) ∨ r ≡ p ∨ ( q ∨ r ) ≡ p ∨ q ∨ r 9. ( p ∧ q ) ∧ r ≡ p ∧ ( q ∧ r ) ≡ p ∧ q ∧…