เนื้อหาคณิตม.ต้น ม.1 เทอม 2
คณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 เนื้อหาคณิต ม.1 เทอม 2 อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น สถิติ (1)
คณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 เนื้อหาคณิต ม.1 เทอม 2 อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น สถิติ (1)
เนื้อหาคณิต ม.1 เทอม 1 จำนวนเต็ม การสร้างทางเรขาคณิต เลขยกกำลัง ทศนิยมและเศษส่วน รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
คณิตศาสตร์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่อง แบบรูปและความสัมพันธ์ แบบรูป (Pattern) แบบรูปเป็นการแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่มีลักษณะสำคัญบางอย่างร่วมกันอย่างมีเงื่อนไข ซึ่งสามารถอธิบายความสัมพันธ์เหล่านั้นได้โดยใช้การสังเกต การวิเคราะห์ หาเหตุผลสนับสนุนจนได้บทสรุปอันเป็นที่ยอมรับได้
การแก้อสมการพหุนามหนึ่งตัวแปร จัดรูปอสมการให้ด้านหนึ่งเท่ากับ 0 ทำสัมประสิทธิ์ข้างหน้าให้เป็น + ทุกวงเล็บ และดีกรียกกำลังเลขคี่
สรุปสูตร – ฟิสิกส์ การเคลื่อนที่แนวตรงและแนวดิ่ง นิยามการเคลื่อนที่ 1.1 ระยะทาง (Distance) จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุ เช่น รถยนต์ สัตว์ วัตถุตกในอากาศ พบว่าตำแหน่งของวัตถุมีการเปลี่ยนไปจากเดิม หรือกล่าวว่าวัตถุจะเลื่อนจากตำแหน่งเดิมไปยังตำแหน่งใหม่ ซึ่งจะเรียกการเคลื่อนที่เช่นนี้ว่า การเคลื่อนที่แบบเลื่อนตำแหน่ง (translation motion) ถ้าเราทราบตำแหน่งเริ่มต้นเส้นทางการเคลื่อนที่และตำแหน่งสุดท้ายของการเคลื่อนที่ ก็จะได้ระยะทางจากความยาวตามเส้นทางการเคลื่อนที่นั้น
เลขเรื่องเอกนาม คือ อะไร? สรุปเรื่อง พหุนาม เอกนาม ม.ต้น เอกนาม คือ อะไร เอกนาม คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปการคูณของค่าคงตัว กับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยที่เลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ เช่น 3, 3xy3, 5x + 3x เป็นต้น สัมประสิทธิ์ของเอกนาม หมายถึง ค่าคงตัวที่คูณอยู่กับตัวแปรของเอกนามนั้น เช่น 2×2 มีสัมประสิทธิ์เป็น2 3×9 มีสัมประสิทธิ์เป็น 3 ดีกรีของเอกนาม หมายถึง ผลบวกของเลขชี้กำลังของตัวแปรของเอกนามนั้น เช่น 5×1 y6 z4 จะมีดีกรีเท่ากับ 1 + 6+ 4 = 11 การบวก-ลบ เอกนาม คือ อะไร เอกนาม 2 เอกนามจะคล้ายกันก็ต่อเมื่อมีสมบัติดังนี้ มีตัวแปรชุดเดียวกัน เลขชี้กำลังของตัวแปร ตัวเดียวกันของแต่ละเอกนามเท่ากัน เอกนามที่คล้ายกันสามารถหาผลบวก ผลลบในรูปผลสำเร็จได้ ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน =…
สรุปเนื้อหาสรุปเนื้อหา พาราโบลา (parabola) ม.3 พาราโบลาที่กาหนดด้วยสมการ y = ax2+ bx + c เมื่อ a≠ 0 พาราโบลา. แบบฝึกทักษะ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 เรื่อง พาราโบลา. พาราโบลาที่กาหนดด้วยสมการ … สรุป ลักษณะทั่วไปของกราฟพาราโบลา y = ax2+ bx + c เมื่อ a ≠ 0 พาราโบลา คือ กราฟที่เป็นเส้นโค้ง ไม่เป็นเส้นตรง สมการพาราโบลามี 5 แบบ ได้แก่ สมการพาราโบลาจะมีคุณสมบัติอยู่ 6 ข้อ คือ 1. จุดยอดคือ จุด (h,k) 2. ถ้า a > 0 กราฟพาราโบลาจะเปิดด้านบน(พาราโบลาจะหงาย)…
พีชคณิตระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 1.1 จำนวนจริง ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้แทนปริมาณต่างที่มีอยู่ในธรรมชาติ ในยุคเริ่มแรกเรารู้จักจำนวนที่มีลักษณะเต็มหน่วยที่เป็นปริมาณเชิงประจักษ์ในธรรมชาติ ชุดจำนวนเหล่านี้ถูกนำมารวมกันเป็นเซตเรียกว่าเซตจำนวนนับ (Natural numbers) ต่อมามีการกำหนดเลขศูนย์ และจำนวนตรงกันข้ามกับจำนวนนับ จึงเรียกจำนวนสามกลุ่มนี้ใหม่ว่า จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มศูนย์ และจำนวนเต็มลบ เกิดเป็นเซตจำนวนเต็ม ต่อมามีการศึกษาปริมาณเชิงสัดส่วน (Ratio) ที่เกิดจากการแบ่งในลักษณะการหารกันระหว่าง
สรุปสูตร จำนวนเชิงซ้อน และ เฉลยแนวข้อสอบ คณิตฯ A-level เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน ตอนที่ 5 Alevel 66 EP5 #จำนวนเชิงซ้อน จำนวนเชิงซ้อน ( COMPLEX NEMBER ) ในหัวข้อ จำนวนเชิงซ้อน นี้จะอธิบายถึงพื้นฐานของจำนวนเชิงซ้อน การประยุกต์ใช้จำนวนเชิงซ้อน และกระบวนการต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับ จำนวนเชิงซ้อน ซึ่งหัวใจของบทนี้ คือ การเข้าใจหน่วยจินตภาพ ( Imaginary Unit )
เทคนิคเรียนคณิตศาสตร์ให้เก่ง เรียนคณิตศาสตร์ ให้เก่งไม่ใช่เรื่องยากเท่าไหร่เลยครับสำหรับน้องๆ 1. ต้องรู้ที่มาของสูตร นักเรียนจำนวนมาก เรียนคณิตศาสตร์ แบบจำสูตร แล้วก็แทนสูตรแล้วก็หวังว่าจะได้คำตอบครับ แน่นอนว่าบางครั้งก็ได้คำตอบ บางครั้งก็ไม่ได้คำตอบ บางครั้งก็ลืมสูตรที่จำ การแก้ปัญหาง่ายมากๆเลยคือต้องเข้าใจที่มาของสูตร ว่าสูตรแต่ละสูตรพิสูจน์มาได้อย่างไร อาจจะเสียเวลาหน่อยในการหาว่าสูตรแต่ละสูตรมาได้อย่างไร แต่เชื่อเถอะครับว่ามันคุ้มค่าที่จะรู้ และจะทำให้การ เรียนคณิตศาสตร์ ของน้องๆได้ผลมากขึ้นอย่างแน่นอน