หูของคนเรากับความมหัศจรรย์ของอวัยวะนี้

ร่างกายของมนุษย์เต็มไปด้วยอวัยวะที่มหัศจรรย์และซับซ้อม แถมแต่ละอวัยวะยังทำงานเชื่อมต่อกันไปมาอย่างซับซ้อนยิ่งกว่าเครื่องจักรกลในโรงงานอุสาหกรรมขนาดใหญ่ อย่างเช่น ดวงตา ที่รับภาพ ไปสู่สมอง เพื่อประมวลภาพสั่งการออกมาให้อวัยวะอื่นๆรับรู้ เช่นเดียวกันกับ หู ที่รับเสียง วิ่งตรงไปสู่สมองเพื่อให้ประมวลเสียง

ไฟฟ้ากระแสตรง(DC) และไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) แตกต่างกันอย่างไร? ฟิสิกส์ ม.ปลาย

กระแสไฟฟ้าที่เราทุกคนบนโลกนี้ใช้อยู่ด้วยกันทั้งหมดมี 2 แบบ แบบที่ 1 คือไฟฟ้ากระแสตรง หรือ Direct Current (DC) และแบบที่ 2 คือไฟฟ้ากระแสสลับ หรือ Alternating Current (AC) ซึ่งใช้งานได้แตกต่างกันไป

มารู้จักกับคณิตศาสตร์ประยุกต์คืออะไร

คณะวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยสาขาวิชาต่าง ๆ มากมายที่เน้นหลักสูตรทางด้านวิทยาศาสตร์ อีกทั้งยังมีสาขาหนึ่งที่สำคัญอย่างสาขาคณิตศาสตร์ก็ได้รับการบรรจุเป็นหลักสูตรหนึ่งในคณะวิทยาศาสตร์ด้วย อาจเป็นเพราะว่าคณิตศาสตร์นับเป็นเครื่องมือหนึ่งของวิทยาศาสตร์ ในการวิจัยและการประยุกต์ใช้ซึ่งทำให้เกิดความรู้ใหม่ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ปัจจุบัน นอกจากมีสาขาคณิตศาสตร์แล้ว ในบางมหาวิทยาลัยยังสาขาคณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่แตกต่างออกไป นั่นก็คือ สาขาคณิตศาสตร์ประยุกต์  (applied mathematics)

ทำไมฝักถั่วลิสงถึงไปอยู่ใต้ดิน-ชีววิทยา

ฝักถั่วลิสง ทำไมไป เกิดอยู่ใต้ดิน  ในขณะที่ถั่วอย่างอื่นเช่น ถั่วเขียว  ถั่วเหลือง  ถั่วแระ  ถั่วพู เกิดอยู่ตามกิ่ง  ก้าน  ผมจะชี้แจงเรื่องนี้ให้ทราบครับ

มารู้จักกับ นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology) ฟิสิกส์

นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology) นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology) หมายถึงวิทยาการในการประกอบและผลิตสิ่งต่างๆ ขึ้นมาจากการจัดเรียงอะตอม  หรือโมเลกุลเข้าด้วยกันในระดับนาโนเมตรหรือขนาด 1  ในพันล้านส่วนของ 1 เมตร โดยเป็นการผสมผสานของวิทยาศาสตร์หลายแขนง เช่น  ชีววิทยา ชีวเคมี วิศวกรรมศาสตร์สาขาหุ่นยนต์ และเครื่องจักรกล

ช่วงและการแก้สมการ-คณิตศาสตร์พื้นฐาน

ช่วง ถ้าเราลากเส้นตรงเส้นหนึ่งแล้วเลือกจุดใดจุดหนี่งบนเส้นตรงนั้นเป็นเป็นจุดแทนจำนวนศูนย์ (0) หลังจากนั้นเลือกหน่วยความยาว แล้วระบุจุดบนเส้นตรงนี้ที่ระยะห่าง 1, 2, 3, … หน่วยทางขวามือของศูนย์เป็นจำนวน 1, 2, 3, … ตามลำดับ และในทำนองดียวกัน ระบุจุดบนเส้นตรงนี้ที่ระยะห่าง 1, 2, 3, … หน่วยทางซ้ายมือของศูนย์เป็นจำนวน -1, -2, -3, … ตามลำดับ

ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

นการสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล [1] ส่วนมากนิยมใช้ x แทนตัวแปรอิสระ y แทนตัวแปรตาม และข้อมูลที่นำมาสร้างความสัมพันธ์จะต้องประกอบด้วยค่าจากการสังเกตเป็นจำนวนมากพอควร ซึ่งควรจะมีตั้งแต่ 8 ค่าขึ้นไป เพราะหากค่าการสังเกตมีจำนวนน้อยแล้ว สมการที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลของ 2

เทคนิคคิดเลขเร็ว “อย่าเสพติดเครื่องคิดเลข” โดยพี่อุ๋ย ติวมาสเตอร์^^

อีกปัจจัยที่สำคัญมากๆในการทำโจทย์คณิต คือ การคิดเลข บางคนรู้วิธีแก้โจทย์มาถูกทาง แต่มาตายตอนคิดเลข คิดช้าไม่เท่าไหร่ แล้วดันคิดผิดอีก…อันนี้เศร้าใจมาก T-T วันนี้พี่อุ๋ย จะมาแชร์วิธีคิดเลขเร็วที่พี่อุ๋ยใช้ประจำ ช่วยร่นระยะเวลาในห้องสอบได้มาก ลดความผิดพลาดได้ มีเวลาเหลือไปทำข้ออื่นต่อได้สบายๆ เอาเทคนิคไปใช้กันได้เลยครับ ^^ #เทคนิคคิดเลขเร็ว #พี่อุ๋ย #ติวมาสเตอร์ #ติวเลขออนไลน์ #ติวเตอร์ออนไลน์

วิตามินและโคเอนไซม์ ชีววิทยา ม.ปลาย

วิตามิน วิตามินถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1911 โดยนักชีวเคมีชาวโปแลนด์ชื่อ Funk ซึ่งได้อธิบายถึงสารดังกล่าวว่าเป็นสารอาหารที่มีความจำเป็นต่อชีวิต (vital) และมีสมบัติเป็นสารเอมีน (amine) จึงตั้งชื่อว่า Vitamine ต่อมาได้พบสารอาหารอีกหลายชนิดที่มีความจำเป็นต่อชีวิตแต่มิได้เป็นสารเอมีนจึงได้ตัดพยัญชนะ “e” ตัวท้ายทิ้งไปคงเหลือแต่ “vitamin” เท่านั้น