ติวเนื้อหาเคมี-พอลิเมอร์ ม.ปลาย
พอลิเมอร์ 1 พอลิเมอร์ธรรมชาติ และ พอลิเมอร์สังเคราะห์ พอลิเมอร์ (Polymer) เป็นสารที่สามารถพบได้ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีลักษณะเป็นโมเลกุลขนาดใหญ่
พอลิเมอร์ 1 พอลิเมอร์ธรรมชาติ และ พอลิเมอร์สังเคราะห์ พอลิเมอร์ (Polymer) เป็นสารที่สามารถพบได้ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีลักษณะเป็นโมเลกุลขนาดใหญ่
คอเลสเตอรอล คือไขมันชนิดหนึ่งที่ร่างกายสามารถสร้างเองได้ และสามารถพบได้ในอาหาร เป็นไขมันที่มีความจำเป็นต่อร่างกายโดยเฉพาะในกระบวนการสร้างเซลล์ในร่างกาย ซึ่งร่างกายต้องการคอเลสเตอรอลในการช่วยให้การทำงานเป็นไปได้อย่างเป็นปกติ
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองที่มีตัวแปรเดียว การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสองและมีตัวแปรเดียว ที่แต่ละพจน์มี
การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ (หรือการอ้างเหตุผล) คือ กระบวนการคิดของมนุษย์ และสื่อความหมายกับผู้อื่นด้วยภาษา ซึ่งประกอบด้วยข้อความ หรือประโยคกลุ่มหนึ่งที่ยกขึ้นมาเพื่อสนับสนุนให้ได้ข้อความ หรือประโยคตามมา มักจะแสดงในส่วนของ เหตุ เราเรียกข้อความกลุ่มแรกนี้ว่า ข้ออ้าง (Premisses) และข้อความอีกชุดหนึ่งที่แสดงในส่วนของ ผล จะถูกเรียกว่า ข้อสรุป (Conclusion)
พื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด การเรียกชื่อพีระมิด การเรียกชื่อพีระมิด นิยมเรียกชื่อตามลักษณะรูปเหลี่ยมของฐาน ตัวอย่างเช่น พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า พีระมิดฐานหกเหลี่ยม เป็นต้น
บีตส์ (Beat) เกิดขึ้นเมื่อเสียงจากแหล่งกำเนิดสองแหล่งที่ความถี่ต่างกันเล็กน้อย เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางเดียวกันในเวลาและทิศเดียวกัน ก็จะรวมกัน ตามหลักการซ้อนทับของคลื่นทำให้คลื่นรวมที่ได้เคลื่อนที่ผ่านผู้ฟังซึ่งอยู่กับที่เป็นเสียงดังค่อย ดังค่อยสลับกันไปเป็นจังหวะที่คงตัว เรียกว่า บีตส์ของเสียง หูของคนเราสามารถแยกเสียงบีตส์ เมื่อความถี่บีตส์มีค่าไม่เกิน 7 เฮิรตซ์
การจำแนกคลื่น จำแนกคลื่นตามการใช้ตัวกลางในการแผ่
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein)ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก (Photoelectric Effect) เป็นทฤษฎีที่ใช้อธิบายคุณสมบัติของแสงในรูปแบบของอนุภาค ที่เรียกว่า “โฟตอน” (Photon) จากเดิม (Classical Physics) ที่อธิบายคุณสมบัติของแสงในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
การใช้ used to/ get used to/ และ to be used to และความแตกต่าง Used to เฉยๆแปลว่า “เคยทำ(แต่ตอนนี้ไม่ทำแล้ว)” ส่วน To be used to และ Get used to แปลว่า “ชินหรือคุ้นเคยกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง” ส่วนหลักการใช้และโครงสร้างประโยคได้ถูกอธิบายไว้ข้างล่างแล้ว ไปดูกันครับ
การบอกเหตุการณ์ในอดีตด้วยการใช้ time clauses Time Clause คือ clause หรือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่แสดงช่วงเวลาโดยมีพื้นฐานจากการกระทำหรือเหตุการณ์มากกว่าช่วงเวลาที่แน่นอน ตัวอย่างเช่นประโยคนี้