ไฟฟ้าสถิตเรื่องกฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า

ไฟฟ้าสถิตเรื่องกฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ ม.ปลาย

ไฟฟ้าสถิตเรื่องกฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า กฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า การที่แผ่นพีวีซีและแผ่นเปอร์สเป็กซ์ ก่อนนำมาถูกับผ้าสักหลาดไม่แสดงอำนาจไฟฟ้า แต่หลังจากถูกับผ้าสักหลาดแล้วแสดงอำนาจไฟฟ้าออกมา คำอธิบายของปรากฏการณ์ที่ว่านี้ต้องอาศัยทฤษฏีเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม กล่าวคือ วัตถุทุกชนิดย่อมประกอบด้วยอะตอม (atom) จำนวนมาก แต่ละอะตอมประกอบด้วย นิวเคลียส เป็นแกนกลาง ภายในนิวเคลียสประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกว่า โปรตอน ( proton)และอนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้าเรียกว่า นิวตรอน  ( neutron )  นอกนิวเคลียส  มีอนุภาคที่มีประจุลบ  เรียกว่า  อิเล็กตรอน ( electron )  เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสด้วยพลังงานในการเคลื่อนที่ค่าหนึ่ง  อิเล็กตรอนมีมวลน้อยกว่ามวลของนิวเคลียสมาก  สามารถหลุดออกจากอะตอมหนึ่งไปสู่อีกอะตอมหนึ่งได้  ถ้าได้รับพลังงานมากพอ  ประจุและมวลของอนุภาคทั้งสามในอะตอม  ดูได้จากตาราง

สรุป เนื้อหา ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 1 และ ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 2

สรุป เนื้อหา ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 1 และ ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 2 ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 1 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย คลื่น แสงเชิงคลื่นและแสงเชิงรังสี ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 2 เสียง ไฟฟ้าสถิต ไฟฟ้ากระแส การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย       การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย (Simple Harmonic Motion : SHM) คือ การเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำทางเดิมโดยผ่านตำแหน่งสมดุล และมีคาบของการเคลื่อนที่คงตัว เช่น การเคลื่อนที่ของวัตถุติดปลายสปริง การสั่นของสายเครื่องดนตรี การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา เป็นต้น                                               …

โครงสร้างของอะตอม-ฟิสิกส์

โครงสร้างของอะตอม อะตอม เป็นโครงสร้างขนาดเล็กมากมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ที่พบได้ในสิ่งของทุก ๆ อย่างรอบตัวเรา อะตอมประกอบไปด้วยอนุภาค 3 ชนิด คือ: อิเล็กตรอน  ซึ่งมีประจุลบโปรตอน  ซึ่งมีประจุบวกนิวตรอน  ซึ่งไม่มีประจุ

พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์

พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์

พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ ฟิสิกส์ยังเป็นความรู้พื้นฐานที่จะนำไปใช้พัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ ให้ก้าวหน้าขึ้น 1.1 การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ กระบวนการความรู้ทางฟิสิกส์ไม่ได้เกิดจากการค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ของคนเพียงคนเดียว แต่เกิดจากการสรุปข้อมูลที่สะสมไว้ของคนจำนวนมากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ มี 2 แนวทางหลัก ๆ ดังนี้ 1) การสังเกต การทดลอง การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลเป็นแนวคิด หลักการ หรือกฎต่าง ๆ 2) การสร้างแบบจำลองทางความคิดเพื่อสรุปเป็นทฤษฎี และใช้ทำนายสิ่งที่อาจเกิดขึ้น 1.2 พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ การพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ เกิดได้หลายปัจจัย เช่น การพัฒนาเครื่องมือให้มีความละเอียดมากขึ้น การเปลี่ยนมุมมองใหม่ หรือการค้นพบทฤษฎีใหม่ ๆ เป็นต้น ในอดีต การนำเสนอแนวคิดใหม่ ๆ เพื่อล้มล้างแนวคิดเก่ามักจะโดนต่อต้าน จึงต้องพิสูจน์ให้ได้ว่าแนวคิดใหม่นั้นถูก และแนวคิดเก่านั้นผิด ซึ่งมีตัวอย่างพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์อยู่ 3 สาขา การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ มี 2 แนวทางหลัก ๆ ดังนี้ 1) ด้านกลศาสตร์ กาลิเลโอ (Galileo…

ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์

เนื้อหาฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1 เรื่องธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์

เนื้อหาฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์ บทแรกนี้จะเรียนพื้นฐานที่จะต้องได้เจอในการเรียนฟิสิกส์ โดยจะเริ่มตั้งแต่หน่วยการวัด การเขียนเลขแบบสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ทำนำหน้าหน่วย เลขนัยสำคัญ การใช้เครื่องมือวัด ความคลาดเคลื่อน โดยจะเห็นว่าเรื่องที่เรียนเป็นการเตรียมความพร้อมที่จะรายงานค่าและวิเคราะห์ผลทางฟิสิกส์

Comparison การเปรียบเทียบ

Comparison การเปรียบเทียบ ในภาษาอังกฤษ

Comparison การเปรียบเทียบ     การเปรียบเทียบแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ       1.    การเปรียบเทียบแบบเท่ากัน และไม่เท่ากัน (Equality and Unequality)      2.    การเปรียบเทียบขั้นกว่า (Comparative Degree)      3.    การเปรียบเทียบขั้นสูงสุด (Superative Degree)

การใช้ Noun Clauses ภาษาอังกฤษ

การใช้ Noun Clauses ภาษาอังกฤษ

หลักการใช้ Noun Clauses Noun Clauses คืออนุประโยค ซึ่งทำหน้าที่เป็นคำนามในประโยค เป็นได้ทั้งประธาน (Subject noun clauses) หรือกรรม (Object noun clauses