ความเป็นมาของเรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry)

เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry)  เป็นสาขาหนึ่งของวิชาคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่สำคัญวิชาหนึ่งของ คณิตศาสตร์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการนำความรู้ทางพีชคณิตมาช่วยในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับ เรขาคณิต ดังนั้นวิชา

มาแลัวเฉลยคณิตศาสตร์ วิชาสามัญ  ปี 64 ที่เพิ่งสอบกันล่าสุด

มาแล้วจ้า ! ! ! #เฉลย #คณิตสามัญ ล่าสุด ปี 64 ที่เพิ่งสอบกันล่าสุด น้องๆ #dek65 ที่หลายๆคนบอกว่ายากขึ้นจริงไหม? พร้อมให้น้องพิสูจน์ได้แล้ว

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 (Mathematical Logic )

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 2.1     ประพจน์ 2.2     การเชื่อมประพจน์ 2.3     การหาค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์ 2.4     การสร้างตารางค่าความจริง 2.5     รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน 2.6     สัจนิรันดร์

สารละลายอิเล็กโทรไลต์ -เคมี

สารละลายอิเล็กโทรไลต์         อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) หมายถึง สารที่ี่เมื่อละลายในน้ำจะนำไฟฟ้าได้ เนื่ื่องจากมีไอออนซึ่งอาจจะเป็นไอออนบวก หรือไอออนลบเคลื่อนที่ี่อยู่ในสารละลาย สารละลายอิเล็กโทรไลต์นี้ี้อาจเป็นสารละลายกรด เบส หรือเกลือก็ได้ ตัวอย่างเช่น สารละลายกรดเกลือ (HCl) สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และสารละลายของเกลือ KNO3 เป็นต้น โดยในสารละลายดังกล่าวประกอบด้วยไอออน H+ , Cl– , OH– , K+ และ NO3 – ตามลำดับ

สารละลายบัฟเฟอร์ (Buffer Solution)-เคมี

 สารละลายบัฟเฟอร์ (buffer solution) หมายถึงสารละลายของกรดอ่อนกับเกลือของกรดอ่อน หรือคู่เบสของกรดอ่อน หรือหมายถึงสารละลายของเบสอ่อนกับเกลือของเบสอ่อน หรือคู่กรดของเบสอ่อนนั้น สมบัติของสารละลายบัฟเฟอร์ คือ รักษาสภาพ pH ของสารละลายเอาไว้โดยจะเกิดการ

ปรับแนวคิดเพื่อสมดุลชีวิตกับการทำงานและการเรียน(Work Life Balance)

การให้ความสำคัญกับชีวิตด้านใดด้านหนึ่งมากเกินไปอาจก่อให้เกิดความเครียดโดยไม่รู้ตัว ไม่ว่าจะเป็นความเครียดจากการทำงานหนักเกินไป สุขภาพที่ถดถอย

ภาวะเป็นพิษจากพืช-ชีววิทยา

ภาวะเป็นพิษจากพืช พืชพิษ คือพืชที่ประกอบด้วยสารพิษ หรือผลิตสารพิษในปริมาณที่มากพอที่จะก่อให้เกิด อันตรายต่อมนุษย์และสัตว์ได้ อันตรายที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงต่างกัน อาจถึงขั้นเกิดโรค, พิการ หรือเสียชีวิต พืชบางชนิดเกิดพิษเพียงระยะเวลาสั้น ถ้าได้รับการแก้ไขที่ถูกต้อง ร่างกายก็จะกลับคืนสู่สภาพปกติได้

การสื่อสารข้อมูล(DataCommunications)

การสื่อสารผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในยุคแรก ๆ จะพัฒนามาเป็นช่วง ๆ เริ่มตั้งแต่การนำส่งข้อมูลสำหรับการประมวลผลโดยคน การประมวลผลจึงเป็นแบบกลุ่ม (Batch)

การทำงานของเข็มทิศ ( compass ) – เครื่องมือทางภูมิศาสตร์

  ถ้าหากว่าวันหนึ่งคุณหลงอยู่ในป่าแล้วหละก็ โอกาสที่คุณจะหลุดออกมาจากป่านั้นได้นั้นได้ อาจจะมาจากแค่เข็มทิศเล็กๆเพียงอันเดียวเท่านั้น เข็มทิศ(Compass) จะหมุนและชี้ไปทางทิศเหนือตลอด ตามแรงดูดจากสนามแม่เหล็กโลก ทำให้เราสามารถที่จะหาทิศทางด้านอื่นๆที่สอดคล้องกันได้ต่อมา โดยเข็มทิศจะมีเข็มแม่เหล็กขนาดเล็กที่สามารถหมุนได้อย่างอิสระอยู่ภายใน เข็มแม่เหล็กขนาดเล็กนั้นเองจะเป็นตัวที่ตอบสนองกับแรงดูดจากขั้วแม่เหล็กของโลก