สรุปเนื้อหาเรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
สรุปเนื้อหาเรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
สรุปเนื้อหาเรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
Adjective ที่ลงท้ายด้วย -ing และ -ed ต่างกันอย่างไร? adjective ที่เติม ed หรือ ing เดิมทีมันก็คือคำกริยานั่นแหละ ถ้าเป็นคำกริยา บางคำจะแปลว่า “ทำให้….” หรือ แปลตามตัว
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน(Relations and Functions) ผลคูณคาร์ทีเชียน(Cartesian Product)นิยาม คูณคาร์ทีเชียน ของเซต A และ B คือเซตคู่ลำดับ (a,b) ทั้งหมดโดยที่ a ∈ A
จำนวนจริง ( Real Number ) จำนวนจริงชนิดต่าง ๆ
สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ ตัวบ่งปริมาณ(Quantified statement) ตัวบ่งปริมาณในตรรกศาสตร์ มี 2 ชนิด คือ
เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe)คือ เซตที่ก าหนดให้ โดยมีข้อตกลงว่าจะไม่กล่าวถึงสิ่งใดนอกเหนือไปจากสมาชิกของเซตที่ก าหนดขึ้นนี้ ใช้สัญลักษณ์ U แทนเอกภพสัมพัทธ์แผนภาพของเวนน์ – ออยเลอร์(Venn-Euler Diagrams) คือ แผนภาพที่เขียนเซตด้วยรูปปิดใด ๆ นิยมเขียนด้วยรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก แทนเอกภพสัมพัทธ์ U และเขียนเซตต่างๆ ซึ่งเป็นสับเซตของ U ด้วยรูปปิดอาจเป็น วงกลม วงรี หรือรูปปิดอื่น ๆ ลงในสี่เหลี่ยมผืนผ้า
แฟกทอเรียล n (Factorial n) เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก แฟกทอเรียล n หมายถึง ผลคูณของจำนว เต็มบวกตั้งแต่ 1ถึง n ซึ่ง แฟกทอเรียล n เขียนแทนด้วย n ! โดย n! อ่านว่า แฟกทอเรียลเอ็น หรือ เอ็นแฟกทอเรียล ก็ได้ แต่อย่างไรก็ตาม บทนิยามของ n ! กล่าวเฉพาะ n ที่เป็นจำนวนเต็มบวก แต่ในบางครั้งก็จำเป็นต้องใช้ 0! โดย กำหนดค่าของ 0! จากนิยามได้ดังนี้ แฟกทอเรียล (Factorial) ให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก จะได้ n! เป็นสัญลักษณ์ที่เขียนแทนการคูณกันของจำนวนเต็มบวกต้งัแต่ 1 ถึง n สัญลักษณ์ n! อ่านว่า เอ็นแฟกทอเรียล…
จำนวนจริง (real number) ส่วนประกอบของจำนวนจริง จำนวนจริง ( Real Number ) จะประกอบไปด้วย จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้ จำนวนอตรรกยะ คือ จำนวนที่ไม่สามารถเขียนในรูปจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ จาก เซต หนึ่ง (โดเมน) ไปยังอีกเซตหนึ่ง (โคโดเมน ไม่ใช่ เรนจ์) โดยที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำกัน ความคิดรวบยอดของฟังก์ชันนี้เป็นพื้นฐานของทุกสาขาของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ คู่อันดับ
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น จำนวนจริง (Real Number) ระบบจำนวนเลขเท่าที่มนุษย์คิดค้นพบในขณะนี้ประกอบด้วยเลขจำนวน 2 ระบบ คือ