การวัดค่ากลางของข้อมูล – การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น

การวัดค่ากลางของข้อมูล การวัดค่ากลางของข้อมูล การหาค่ากลางของข้อมูลที่เป็นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดเพื่อความสะดวกในการสรุปเรื่องราวเกี่ยวกับข้อมูลนั้นๆ จะช่วยทำให้เกิดการวิเคราะห์ข้อมูลถูกต้องดีขึ้น การหาค่ากลางของข้อมูลมีวิธีหาหลายวิธี แต่ละวิธีมีข้อดีและข้อเสีย และมีความเหมาะสมในการนำไปใช้ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะข้อมูลและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ข้อมูลนั้นๆ

สถิติ

บทแนะนำเรื่องสถิติ ม.ปลาย วิชาคณิตศาสตร์ ม.6

สถิติ (Statistics) อาจพิจารณาได้ 3 ความหมาย คือ • สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่ใช้บรรยายเหตุการณ์หรือข้อเท็จจริง (facts) ของเรื่องต่างๆ ที่เราต้องการศึกษา เช่น สถิติจำนวนผู้ป่วย สถิติจำนวนคนเกิด สถิติจำนวนคนตาย เป็นต้น

มาดูสรุปการเปลี่ยนแปลง TCAS65 ล่าสุด

มาดูสรุปการเปลี่ยนแปลง TCAS65 ล่าสุด

มาดูสรุปการเปลี่ยนแปลง TCAS65 (TCAS ย่อมาจาก Thai University Center Admission System)ล่าสุด สำหรับคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2565 ปัจจุบันมีมหาวิทยาลัยที่อยู่ในระบบทั้งหมด 82 แห่ง โดยจะดำเนินการภายใต้ระบบ myTCAS ในการจัดการสิทธิ์การสมัครทั้ง 4 รอบ TCAS65 มีทั้งหมด 4 รอบ 4 รูปแบบด้วยกันมีดังนี้

สรุปเนื้อหาวิชาคณิตฯ เรื่องลำดับและอนุกรม ชั้น ม.5

สรุปเนื้อหาวิชาคณิตฯ เรื่องลำดับและอนุกรม ชั้น ม.5 ลำดับและอนุกรม คืออะไร ลำดับ หมายถึง ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวกที่เรียงจากน้อยไปมากโดยเริ่มตั้งแต่ 1 ซึ่งลำดับนั้น เป็นจำนวนหรือพจน์ที่เขียนเรียงกันภายใต้กฏเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นลำดับทั่ว ๆ ไป โดยแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ลำดับอนันต์ คือ ลำดับซึ่งมีจำนวนพจน์ไม่จำกัด โดยฟังก์ชันเป็นลำดับที่มีโดเมนเป็น { 1, 2, 3, … }

ตัวหารร่วม การหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. เรื่องจำนวนนับคณิตออนไลน์

ตัวหารร่วม                 ตัวหารร่วมหรือตัวประกอบร่วม หมายถึง จำนวนที่สามารถหารจำนวนนับที่กำหนดให้ตั้งแต่ 2 จำนวนลงตัว

ตัวประกอบของจำนวนนับ

ตัวประกอบของจำนวนนับ-คณิต ม.ปลาย

ตัวประกอบของจำนวนนับ ตัวประกอบ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับที่เรากำหนดให้ได้ลงตัว เช่น a จะเป็นตัวประกอบของ b ก็ต่อเมื่อ b หารด้วย a ลงตัว หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ a หาร b ลงตัว

มารู้จักกับ มุมเรเดียนกับมุมองศา

มารู้จักกับ มุมเรเดียนกับมุมองศา-คณิตฟังก์ชันตรีโกณมิติ

เรเดียนและองศาต่างก็เป็นหน่วยในการวัดขนาดของมุมทั้งคู่ วงกลมหนึ่งวงมีค่าเท่ากับ 2π เรเดียนหรือเท่ากับ 360° พูดง่ายๆ คือทั้งสองค่าต่างก็เท่ากับการวนรอบวงกลม “หนึ่งรอบ” เนื่องจาก 1π เรเดียน เท่ากับ 180° เราจึงนำ 180/π มาใช้ในการแปลงเรเดียนเป็นองศา ถ้าต้องการแปลงเรเดียนเป็นองศา เราแค่ต้องนำ 180/π มาคูณกับขนาดของมุมในหน่วยเรเดียน ถ้าต้องการรู้ว่าจะสามารถแปลงเรเดียนเป็นองศาได้อย่างไรและอยากเข้าใจหลักในการคำนวณ ลองอ่านขั้นตอนต่างๆ