การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง

การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง  การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง ตัวแปร : อักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x , y ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวน ค่าคงตัว : ตัวเลขที่แททนจำนวน เช่น 1, 2 นิพจน์ : ข้อความในรูปสัญลักษณื เช่น 2, 3x ,x-8 , เอกนาม : นิพจน์ที่เขียนอยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้กำลังของตัวแปรเป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ เช่น -3, 5xy , 2y พหุนาม : นิพจน์ที่สามารถเขียนในรูปของเอกนาม หรือการบวกเอกนามตั้งแต่สองเอก นามขึ้นไป เช่น 3x , 5x +15xy+10x+5 ดีกรีของเอกนาม : ดีกรีสูงสุดของเอกนามในพหุนามนั้น เช่น x+2xy+1 เป็นพหุนามดีกรี 3 การแยกตัวประกอบของพหุนาม พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว : พหุนามที่เขียนได้ในรูป ax…

กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง พาราโบลา (PARABOLA) ม.3

กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง พาราโบลา (PARABOLA) ม.3

กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง พาราโบลา (PARABOLA) สมการพาราโบลา สมการของ พาราโบลา คือ สมการที่สามาเขียนให้อยู๋ในรูป

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น-ตัวบ่งปริมาณ(Quantified statement)

ตรรกศาสตร์เบื้องต้นเรื่องตัวบ่งปริมาณ ตัวบ่งปริมาณ(Quantified statement) ตัวบ่งปริมาณในตรรกศาสตร์ มี 2 ชนิด คือ 1) ตัวบ่งปริมาณ “ทั้งหมด” หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้องการพิจารณาในการ นำไปใช้อาจใช้คำอื่นที่มีความหมายเช่นเดียวกับ “ทั้งหมด” ได้ ได้แก่ “ทุก”

กราฟเเละค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน

กราฟเเละค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน-คลังความรู้คณิตศาสตร์

กราฟเเละค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน     เนื่องจากจำนวนเชิงซ้อนเขียนอยู่ในรูปของคู่อันดับ (a , b) หรือในรูป a + bi โดยที่ a เป็นส่วนจริง และ b เป็นส่วนจินตภาพ   ดังนั้นอาจเขียนแทนจำนวนเชิงซ้อน (a , b) ใด ๆ ด้วยจุดบนระนาบได้เช่นเดียวกับการแทนคู่อันดับด้วยความสัมพันธ์ใดๆ ด้วยจุดบนระนาบในระบบมุมฉากและเรียกแกนนอนว่า แกนจริง (real axis) เรียกแกนตั้งว่า แกนจินตภาพ (imaginary axis) แลเรียกระนาบที่เกิดจากแกนทั้งสองว่าระนาบเชิงซ้อน (Complex plane) เพื่อความสะดวกจะใช้แกน X แทนแกนจริง และแกน Y แทนแกนจินตภาพ

คณิตศาสตร์-วิธีการเรียงสับเปลี่ยน

วิธีการเรียงสับเปลี่ยน     วิธีการเรียงสับเปลี่ยน (Permutation) คือการเรียงสิ่งของโดยคำนึงถึงตำเเหน่งของสิ่งของเเต่ละสิ่งเป็นที่สำคัญที่สุด โดยจะใช้บทนิยามที่ว่า “ถ้า n เป็นจำนวนเต็มบวก จะใช้เเฟกทอเรียล (factorial) n โดยเป็นผลคูณตั้งเเต่ 1 ถึง n เขียนเเทนด้วย n!”

อินเวอร์สของความสัมพันธ์

อินเวอร์สของความสัมพันธ์ อินเวอร์สของความสัมพันธ์ r คือ ความสัมพันธ์ซึ่งเกิดจากการสลับตำแหน่งของสมาชิกตัวหน้า และสมาชิกตัวหลัง ในแต่ละคู่อันดับที่เป็นสมาชิกของ r เขียนแทนด้วย r-1

ทฤษฎีจำนวน (Number theory)

ตัวหารร่วมมาก – ทฤษฎีจำนวน (Number theory) คณิตศาสตร์ออนไลน์

ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) บทนิยาม กําหนดให้ a, b เป็นจํานวนเต็มที่ไม่เป็นศูนย์ (อย่างน้อยที่สุดจํานวนใดจํานวนหนึ่งต้องไม่เป็นศูนย์) แล้ว จะกล่าวว่า + d∈I เป็นตัวหารร่วมมาก (Greatest Common Divisor : GCD) ของจํานวนเต็ม a,b ก็ ต่อเมื่อ d เป็นจํานวนเต็มที่มากที่สุดที่ทําให้ d|a และ d|b