อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวในชีวิตประจำวัน

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวในชีวิตประจำวัน

ประโยชน์ของคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ทางคณิตศาสตร์ มีการกำหนดเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เพื่ออธิบายหรือเปรียบเทียบความสัมพันธ์โดยใช้เครื่องหมาย “=” เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ว่าเท่ากัน เช่น 3=3, x2+3=19 เป็นต้น ความสัมพันธ์นี้เรียกว่า “สมการ” ดังที่กล่าวไปในบทความครั้งก่อน ส่วนการเปรียบเทียบสิ่งที่ไม่เท่ากัน มีการกำหนดเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เพื่ออธิบายหรือเปรียบเทียบความสัมพันธ์นั้นได้แก่ เครื่องหมาย “≠” เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ว่าไม่เท่ากัน เช่น 2≠3 , x2 + 3x +1≠ 0 เป็นต้น

เรื่อง อสมการ

เรื่อง อสมการ

เรื่อง อสมการ แก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ บทนิยาม  อสมการ  คือ  ประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของจำนวน โดยมีสัญลักษณ์  <  , >  ,  ≤   ,  ≥     หรือ  ≠   แสดงความสัมพันธ์

ฟังก์ชัน

ฟังก์ชัน  เลข ม.4 

ฟังก์ชัน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ โดเมนและเรนจ์ ฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ที่กำหนดให้ในรูปแบบแจกแจงสมาชิก สามารถทำได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้

เลขยกกำลัง

เลขยกกำลัง คณิตศาสตร์ ม.4

เลขยกกำลัง รากที่ n ของจำนวนจริง เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกะ รากที่ n ของจำนวนจริง รากที่ n ของจำนวนจริง คือจำนวนจริงตัวหนึ่งยกกำลัง n แล้วเท่ากับ x   เมื่อ n > 1 เราสามารถตรวจสอบรากที่ n ได้ง่ายๆ โดยนิยามดังนี้

การอ้างเหตุผลและตัวอย่าง

ตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ ม.4

เรื่องที่เรียนเกี่ยวตรรกศาสตร์ ประพจน์ จะกล่าวถึงความหมายและลักษณะของสิ่งที่เป็นประพจน์ และสิ่งที่ไม่เป็นประพจน์ การเชื่อมประพจน์ จะนำประพจน์สองประพจน์ขึ้นไปมาดำเนินการ ซึ่งมี 5 การดำเนินการ ได้แก่ นิเสธ และ หรือ ถ้า…แล้ว… และ ก็ต่อเมื่อ