ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์และระบบคอมพิวเตอร์

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์และระบบคอมพิวเตอร์-คณิตศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์และระบบคอมพิวเตอร์  ตัวดำเนินการ (Operator) คือ ตัวดำเนินการที่ใช้ในการคำนวณค่าต่างๆ  ทางคณิตศาสตร์ และตัวดำเนินการตามหลักคณิตศาสตร์ในระบบคอมพิวเตอร์ โดยตัวดำเนินการชนิดนี้จะกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลข คือ จำนวนจริงหรือจำนวนเต็ม ผลลัพธ์ของการกระทำโดยตัวดำเนินการคณิตศาสตร์นี้จะเป็นข้อมูลชนิดตัวเลขเท่านั้น                 ในการใช้ตัวดำเนินการคณิตศาสตร์ จะต้องกระทำกับค่า 2 ค่า ซึ่งจะอยู่สองข้างตัวดำเนินการเราเรียกค่า 2 ค่านี้ว่า ตัวโอเปอแรนด์ (Operand)                     ตารางแสดงตัวอย่างตัวดำเนินการ (Operator) และตัวถูกดำเนินการ (Operand)  นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ ตัวถูกดำเนินการ A  +  B A  x  B  +  C  /  2 9  x  5  –  4 6  –  4  /  2  x  9  +  3^2 +…

เรื่อง การบวกและการลบเมทริกซ์

เรียนเมทริกซ์ (Matrix)-เรื่อง การบวกและการลบเมทริกซ์

เรียนเมทริกซ์ (Matrix)เป็นเนื้อหาในวิชาคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ระดับมัธยมปลายชั้นปีที่ 4 โดยเรื่องนี้เป็นเรื่องที่ไม่ยาก ในการสอบ Gat Pat หรือ O-net

พื้นฐานฟังก์ชั่น ม.4 คณิตศาสตร์ออนไลน์

ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน มีความเกี่ยวข้องกันเนื่องจากฟังก์ชันที่เราเขียนในรูป y = f(x) สามารถนำไปเขียนกราฟในระบบพิกัดฉากได้ ซึ่งกราฟในระบบพิกัดฉากก็คือ กราฟที่ประกอบไปด้วยแกน x และ แกน y

สรุปเนื้อหาเตรียมสอบเรื่องทฤษฎีจำนวน ม.4

สรุปเนื้อหาเตรียมสอบเรื่องทฤษฎีจำนวน ม.4 สรุปเนื้อหาที่สำคัญ – การหารลงตัว – จำนวนเฉพาะ – ขั้นตอนวิธีการหาร – การแปลงเลขฐาน – การหารร่วมมาก – ตัวคูณร่วมน้อย สมบัติการหารลงตัว ทฤษฎีบทที่ 1       กำหนด a, b, c เป็นจำนวนเต็มใดๆ ถ้า a | b และ b | c แล้วจะได้ a | c ทฤษฎีบทที่ 2       กำหนด a, b เป็นจำนวนเต็มบวก ถ้า a | b แล้วจะได้ a ≤ b ทฤษฎีบทที่ 3        กำหนด a, b, c เป็นจำนวนเต็มใดๆ ถ้า a…

ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) และ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.)

ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) และ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) เรียนเลขออนไลน์

ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) คือ ตัวหารร่วม (หรือตัวประกอบร่วม) ที่มีค่ามากที่สุด ที่นำไปหารจำนวนนับชุดใด(ตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป) ได้ลงตัว เช่น ห.ร.ม. ของ 8 และ 12 คือ 4 เพราะ 4 คือจำนวนที่มากที่สุดที่หารทั้ง 8 และ 12 ได้ลงตัว

ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น ม.4

ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น ม.4

ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น ม.4 จำนวนจริง , ระบบจำนวนจริง , ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น เวลาสอบ PAT 1 พี่หนึ่งจะรวมให้มันอยู่บทเดียวกันเลย เพราะเนื้อหามันต่อเนื่องกันนะจ๊ะ 🙂 ) น้องๆส่วนใหญ่จะไม่ชอบบทนี้โดยเฉพาะถ้าที่โรงเรียนคุณครูเน้นการพิสูจน์

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory)

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory) เบื้องต้น

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory) นิยาม ถ้า m และ n เป็นจำนวนเต็ม โดยที่ n≠0 แล้ว n หาร m ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจำนวนต็ม c เพียงจำนวนเดียวเท่านั้น ซึ่ง m = nc เรียก n ว่าตัวหารหนึ่งของ m   สัญลักษณ์ n|m หมายถึง n หาร m ลงตัว   n|/m หมายถึง n หาร m ไม่ลงตัว