สรุปสูตร ลอการิทึม ( Logarithm function )

สรุปสูตร สมบัติของลอการิทึม-คณิตศาสตร์ม.ปลาย

เทคนิคการทำโจทย์และจำสูตร สมบัติของลอการิทึม ช่วยให้สามารถทำโจทย์ได้เร็วมากขึ้นซึ่งมีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 8 ข้อ และในการทำโจทย์ลอการิทึม นอกจากจะต้องแม่นยำเรื่องของเลขยกกำลังแล้ว ยังต้องแม่นเรื่องสมบัตของลอการิทึมอีกด้วย สรุปสูตร สมบัติของลอการิทึม

การหาจำนวนเฉพาะ

คณิตศาสตร์เบื้องต้น-จํานวนเฉพาะ ทางคณิตศาสตร์

“จำนวนเฉพาะ” หรือ ไพรม์ นัมเบอร์ (Prime number) คือ จำนวนธรรมชาติที่มีตัวหารที่เป็นบวกอยู่ 2 ตัว คือ 1 กับตัวมันเอง เช่น 2, 3, 5, 7, 11, 13 และ 17 เป็นต้น และสำหรับเลข 1 นั้น ให้ตัดทิ้ง เพราะ 1 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ

โครงสร้างของระบบจำนวน -จำนวนจริง ( REAL NUMBER )

โครงสร้างของระบบจำนวน เป็นหนึ่งในเรื่องของระบบจำนวน โดยในหัวข้อนี้เราจะศึกษาเพียงจำนวนจริงเท่านั้น ไม่พิจารณาจำนวนจินตภาพ โดยหัวข้อนี้ถือเป็นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่สามารถนำไปต่อยอดในหัวข้อต่าง ๆ ได้ เพราะเรื่องจำนวนจริง มีการประยุกต์ใช้และเป็นข้อสอบ

หาดีเทอร์มิแนนต์

สรุปสูตร สมบัติของดีเทอร์มิแนนต์ คณิตศาสตร์ออนไลน์-เมทริกซ์

สมบัติของดีเทอร์มิแนนต์ สรุปสูตรดีเทอร์มิแนนต์ ดีเทอร์มิแนนต์ (Determinant) คือ ค่าของตัวเลขที่สอดคล้องกับเมทริกซ์จัตุรัส ถ้า A เป็นเมทริกซ์จัตุรัส จะเขียนแทนดีเทอร์มิแนนต์ของ A ด้วย det(A) หรือ  โดยทั่วไปการหาค่าดีเทอร์มิแนนต์ที่เจอในข้อสอบจะไม่เกินเมทริกซ์ 3×3 เพราะถ้ามากกว่า 3 แล้ว จะเริ่มมีความยุ่งยาก  ค่าของดีเทอร์มิแนนต์จะเป็นจำนวนจริงและมีเพียงค่าเดียวเท่านั้นที่จะสอดคล้องกับเมทริกซ์จัตุรัส เช่น เมทริกซ์ B ก็จะมีค่าดีเทอร์มิแนนต์เพียงค่าเดียวเท่านั้น

เทคนิคเตรียมสอบ PAT2

จะติวเลขข้อสอบ PAT 1 ออกเนื้อหาอะไรบ้างและ เทคนิคเตรียมสอบ PAT1

เทคนิคเตรียมสอบ PAT1 วิชาความ ถนัดทางคณิตศาสตร์ บทไหนออก บ้าง ? ฝากเทคนิคเตรียมสอบ PAT1

ตรรกศาสตร์กับวงจรไฟฟ้า-พีชคณิตบูลีนและการเขียนวงจรตรรกะเบื้องต้น

ตรรกศาสตร์กับวงจรไฟฟ้า 2. ตรรกศาสตร์กับวงจรไฟฟ้า ตรรกศาสตร์เป็นเนื้อหาหนึ่งซึ่งค่อนข้างแห้งแล้ง จำทำให้การเรียนการสอนในชั้นเรียนเป็นเพียงการเรียนการสอนตามระบบ ตามประเพณี ทั้งที่ระบบตรรกศาสตร์มีบทประยุกต์มากมาย นอกจากจะเป็นรากฐานสำคัญที่อยู่เบื้องหลังการประดิษฐ์คอมพิวเตอร์แล้ว ตรรกศาสตร์ยังมีบทประยุกต์ที่เกี่ยวข้องกับการต่อวงจรของสวิตซ์ ซึ่งอาศัยเพียงความรู้เรื่องตรรกศาสตร์เบื้องต้นในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายก็สามารถเข้าใจได้

เลขยกกำลัง

ติวเลข-สมบัติการคูณเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

เลขยกกำลังคืออะไร ? ถ้าจำนวนที่คูณตัวเองซ้ำกันหลาย ๆ ตัว เราจะเขียนจำนวนเหล่านั้นออกมาในรูปของเลขยกกำลัง โดยจำนวนที่คูณตัวเองซ้ำ ๆ จะเรียกว่า “ฐาน” และจำนวนตัวที่คูณ จะเรียกว่า “เลขชี้กำลัง” เพื่อให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น เพื่อน ๆ ลองนึกถึงการพับกระดาษ 1 แผ่น

        <     แทนความสัมพันธ์น้อยกว่า หรือไม่ถึง           >     แทนความสัมพันธ์มากกว่า หรือเกิน และ    ≠    แทนความสัมพันธ์ไม่เท่ากับหรือไม่เท่ากัน

ติวเลขออนไลน์ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว-คลังความรู้ทางคณิตศาสตร์

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว     คุณเคยเรียนเรื่องการเขียนประโยคเกี่ยวกับจำนวนให้เป็นประโยคที่ใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์มาแล้ว เช่น ประโยค สามเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งเท่ากับหก เขียนได้เป็น 3x = 6และประโยค สองเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งมากกว่าสี่อยู่เจ็ด เขียนได้เป็น2x – 4 = 7 นอกจากนี้ยังเคยรู้จักสัญลักษณ์ต่อไปนี้