ตรรกศาสตร์ ม.4 สรุป-การสร้างตารางงค่าความจริง

การสร้างตารางงค่าความจริง พิจารณาประพจน์ที่มีตัวเชื่อม เช่น ~p, – p Λ q, – p  q, – p → q, – p ↔ q, – (p Λ q) → r จะเห็นว่าประพจน์เหล่านี้มี p, q, r เป็นประพจน์ย่อย ซึ่งเรายังไม่กำหนดค่าความจริง จะเรียก p, q, r ว่า เป็นตัวแปรแทนประพจน์ใดๆ และเรียกประพจน์ที่มีตัวเชื่อม เช่น ~p, – p Λ q, – p  q, – p → q, -p ↔ q ว่า รูปแบบของประพจน์ เนื่องจาก p, q, r เป็นตัวแปรแทนประพจน์ใดๆ ดังนั้น ในการพิจารณาค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์จึงต้องกำหนดค่าความจริง

ระบบจํานวนจริง ม.4 สรุป

สรุปเรื่องระบบจำนวนจริง คณิตศาสตร์ ม.4 ม.ปลาย

ระบบจำนวนจริง จำนวนจริงคือจำนวนทั้งหมดที่สามารถแสดงบนเส้นจำนวนได้ดังนั้นตัวเลขเช่น -5, – 6/2, 0, 1, 2 หรือ 3.5 จึงถือเป็นของจริงเนื่องจากสามารถสะท้อนให้เห็นในการแทนค่าตัวเลขที่ต่อเนื่องกันในรูปแบบจินตภาพ ไลน์. อักษรตัวใหญ่ R เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงชุดของจำนวนจริง

ภาคตัดกรวยกับเรขาคณิตวิเคราะห์ (conic section)

ภาคตัดกรวย เป็นศัพท์บัญญัติ จากคำว่า “conic section” ซึ่งคำว่า conic เป็นคำคุณศัพท์ที่มาจากคำว่า “cone” ที่แปลว่ากรวย ภาคตัดกรวย (conic section หรือ conic) ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึง เส้นโค้งที่ได้จากการตัดพื้นผิวกรวยกลม ด้วยระนาบแบน ภาคตัดกรวยนี้ถูกตั้งเป็นหัวข้อศึกษาตั้งแต่สมัย 200

พาราโบลา (Parabola)ของสมการพาราโบลา คณิตศาสตร์ ม.4

พาราโบลา (Parabola) คณิตศาสตร์ ม.4 เรียนคณิตศาสตร์กับนายติวฟรีในบทเรียนภาคตัดกรวย มาถึงตอนที่ตอนนี้เป็นเรื่องของสมการพาราโบลา (Parabola) ม.4

คณิตศาสตร์การเงิน ดอกเบี้ยทบต้น และการผ่อนจ่าย และ กองทุนรวม

ดอกเบี้ยและเงินรายงวด         การคิดดอกเบี้ย (Interest) จะเกิดขึ้นเมื่อเราทำธุรกิจการเงินอาจเป็นการฝาก หรือการกู้เงินโดยการคิดดอกเบี้ยจะมี 2 ประเภทหลักคือ 1)

นับเลขเป็นภาษาอังกฤษง่ายๆ กัน และแนะนำชนิดของตัวเลข

ธีการนับเลขแบบต่าง ๆ ในภาษาอังกฤษ ตัวเลขในภาษาอังกฤษมี 2 ชนิดคือ ตัวเลขจำนวนนับ Cardinal Numbers  เช่น 1 (one), 2 (two), 3(three), 4(four) ตัวเลขลำดับที่  Ordinal Numbers  เช่น 1st (first), 2nd (second), 3rd (third), 4th (fourth)

คณิตศาสตร์ ความน่าจะเป็น-วิธีเรียงสับเปลี่ยน คลังความรู้ เลข ม.ปลาย

วิธีเรียงสับเปลี่ยน 1. วิธีการเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด หมายถึง การนำสิ่งของที่มีลักษณะที่แตกต่างกันทั้งหมดมาจัดเรียงสับเปลี่ยน โดยถือตำแหน่งหรือลำดับก่อนหลังเป็นสำคัญ แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ

คณิตศาสตร์ ความน่าจะเป็น สรุปทฤษฎีบททวินาม

ทฤษฎีบททวินาม   ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงสูตรของการกระจาย    (  x  +  y  )2      เมื่อ  x, y  เป็นจำนวนจริงใดๆ  และ  n  เป็นจำนวนเต็มบวก

จำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ

สรุปสมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

จำนวนจริง จำนวนตรรกยะ (rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์ และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้