ทฤษฎีจำนวน (Number Theory)

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory)

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory) ตัวอย่างผลงาน เช่น ทฤษฎีบทปีทาโกรัส การค้นพบจำนวนอตรรยะ สมบัติของจำนวนบาง ประเภท จำนวนเชิงรูปภาพ เป็นต้น ปีทาโกรัสมีความเชื่อและสั่งสอนศิษย์ว่า “ทุกสรรพสิ่งแทนได้ด้วย จำนวน” (All is number) (คำว่าจำนวน หมายถึง จำนวนตรรกยะบวกและศูนย์เท่านั้น)

การใช้คำคุณศัพท์และการบอกความรู้สึก

การใช้คำคุณศัพท์และการบอกความรู้สึก คำคุณศัพท์ (Adjectives)

การใช้คำคุณศัพท์และการบอกความรู้สึก-vคำคุณศัพท์ (Adjectives) Part of Speech คืออะไร มีความสําคัญอย่างไร Part of speech คือชนิดหรือประเภทของคำ สามารถแสดงให้เห็นว่าคำนั้นทำหน้าที่อย่างไรทางไวยากรณ์ภายในประโยคและมีความหมายว่าอย่างไรนั่นเอง เพราะคำในภาษาอังกฤษบางคำสามารถแปลได้หลายความหมาย และทำหน้าที่

ระบบจำนวนจริง

จำนวนจริง           จำนวนจริง ( Real  Numbers ) ประกอบด้วย จำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ                1) จำนวนตรรกยะ (Rational  Numbers) คือจำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนได้เมื่อเศษและส่วนเป็นจำนวนเต็ม  และ “ส่วนมีค่าไม่เท่ากับ 0 ”  ได้แก่ จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมซ้ำ

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 คณิตศาสตร์ออนไลน์

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 ตรรกศาสตร์คืออะไร “ตรรกศาสตร์” คือระบบวิชาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับความคิดและการให้เหตุผล ใช้เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงหลักปรัชญาต่างๆ และเป็นพื้นฐานในหลายๆสาขาวิชา และสำหรับวิชาคณิตศาสตร์ น้องๆจะได้เรียนตรรกศาสตร์ในเป็นรูปแบบและกฎเกณฑ์ีการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Logic)  ไม่ว่าจะเป็น “และ” “หรือ” “ถ้า..แล้ว” “ก็ต่อเมื่อ” และนิเสธ นอกจากนี้ หลักตรรกศาสตร์จะใช้สำหรับการพิสูจน์ทฤษฎีต่างๆ

การบวกและลบเวกเตอร์และการหามุมของเวกเตอร์ลัพธ์

การบวกและลบเวกเตอร์และการหามุมของเวกเตอร์ลัพธ์ การบวกเวกเตอร์โดยใช้แผนภาพแบ่งเป็น 2 วิธีคือการบวกโดยวิธีหางต่อหัวและวิธีหางต่อหางการ บวก A และ B โดยวิธีหางต่อหางแสดงเป็นขั้นตอนได้คือ 1. ให้ p หรือ q เป็นตัวตั้ง (ในที่นี้สมมุติให้ p เป็นตัวตั้ง) 2. นําเอาหาง q ต่อเข้ากับหัวของ p 3. ผลลัพธ์ที่เป็นเวกเตอร์ที่มีจุดเริ่มต้นที่หางของ p และมีจุดสุดท้ายที่หัวของ q 4. ในกรณีที่มีมากกว่าสองเวกเตอร์ก็ให้นําเอาหางของเวกเตอร์ตัวที่ 3 (R) มาต่อเข้าที่หัวของ q

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล(Exponential Function]

สรุปฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล(Exponential Function] ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล f(x) = 1x เป็นฟังก์ชันคงตัวเนื่องจาก 1x = 1 ดังนั้นในข้อกำหนดฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล  จึงไม่สนใจ  ฐาน (a) ที่เป็น 1 f(x) = 1x ไม่เป็นฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล  เนื่องจาก  f(x) = 1x เป็นฟังก์ชันคงตัว จากเงื่อนไขที่ว่า y = ax, a > 0, a ¹ 1  ทำให้เราทราบได้เลยว่าฐาน (a) มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ  0 < a < 1 กับ a > 1 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจะมีอยู่ 2 ชนิด โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของฐาน (a)  ดังนี้