ชนิดของเซต

ชนิดของเซต-เรื่องเซต(Set) ม.4 ออนไลน์

ชนิดของเซต-เรื่องเซต(Set) ม.4 เซตว่าง             เซตว่าง  คือ เซตที่ไม่มีสมาชิก สัญลักษณ์ที่ใช้ในเซตว่าง คือ {} หรือ( อ่านว่าไฟ (phi))

การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมมากกว่า 1 ตัวเชื่อม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมมากกว่า 1 ตัวเชื่อม การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตวัเชื่อมหลาย ๆ ตัวเชื่อม จะตอ้งรู้ค่าความจริงของประพจน์ย่อย ๆ แลว้หาค่าความจริงของประพจน์ผสม โดยหาค่าความจริงที่อยู่ ในวงเล็บก่อน จากนั้น หาค่าความจริงตามลำดับความสำคัญของตัวเชื่อม

ตัวเชื่อม และ หรือ ถ้า…แล้ว… ก็ต่อเมื่อ นิเสธ ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

ตัวเชื่อม และ หรือ ถ้า…แล้ว… ก็ต่อเมื่อ นิเสธ  ตารางค่าความจริง คือ ตารางที่สร้างขึ้น   เพื่อบอกว่าค่าความจริงของแต่ละประพจน์คืออะไร โดยที่ตารางค่าความจริงจะต้องแสดงค่าความจริงของประพจน์ ในทุกกรณี ซึ่งจำนวนกรณีจะมีค่าเท่ากับ จำนวนประพจน์ย่อย2จำนวนประพจน์ย่อยๆ

ติวเลขความน่าจะเป็น(Probability)-ความน่าจะเป็น ม.5

ติวเลขความน่าจะเป็น(Probability)-ความน่าจะเป็น ม.5

ติวเลขความน่าจะเป็น (Probability)  ความน่าจะเป็น 1.   อธิบายความหมายของการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเท่า ๆ กันได้

ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์-การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์-การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ความหมายของปัญหาและการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์                                                                                     ปัญหา หมายถึง สถานการณ์ที่เผชิญอยู่และต้องการค้นหาคำตอบ โดยที่ยังไม่รู้วิธีการหรือขั้นตอนที่จะได้คำตอบของสถานการณ์นั้นในทันที

ตรรกศาสตร์-ความหมายของการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์-ด้วยการให้เหตุผลแบบอุปนัย

ความหมายของการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์  หมายถึง  กระบวนการการคิดทางคณิตศาสตร์ที่ต้องอาศัยการคิดวิเคราะห์และ /  หรือความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการรวบรวมข้อเท็จจริง/ข้อความ/แนวคิด/สถานการณ์ทางคณิตศาสตร์ต่างๆ แจกแจงความสัมพันธ์ หรือการเชื่อมโยง  เพื่อทำให้เกิดข้อเท็จจริงหรือสถานการณ์ใหม่

ประพจน์ (Propositions หรือ Statements)-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ประพจน์ (Propositions/Statement) สิ่งแรกที่ต้องรู้จักในเรื่องตรรกศาสตร์คือ ประพจน์ ข้อความหรือประโยคที่มีค่าความจริง(T)หรือเท็จ(F) อย่างใดอย่างหนึ่ง ส่วนข้อความรูป คำสั่ง คำขอร้อง คำอุทาน คำปฏิเสธ ซึ่งไม่อยู่ในรูปของประโยคบอกเล่า จะเป็นข้อความที่ไม่เป็นประพจน์ สำหรับข้อความบอกเล่าแต่มีตัวแปรอยู่ด้วย ไม่สามารถบอกว่าเป็นจริงหรือเท็จจะไม่เป็นประพจน์ เรียกว่าประโยคเปิด