เรขาคณิตสองมิติ ( two – dimensional geometric figure ) คณิตออนไลน์

รูปเรขาคณิตสองมิติ ( two – dimensional geometric figure )  แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ  ตามลักษณะของขอบหรือด้านของรูป  ได้แก่  กลุ่มที่มีขอบหรือด้านของรูปเป็นส่วนของเส้นตรง  กลุ่มนี้คือ “รูปหลายเหลี่ยม ( polygon )”  และกลุ่มที่มีขอบหรือด้านเป็นเส้นโค้งงอ  เช่น  รูปวงกลม  และรูปวงรี  เป็นต้น  กลุ่มนี้ไม่มีชื่อเรียกโดยเฉพาะ

วิธีเรียงสับเปลี่ยน และวิธีจัดหมู่ (Permutation and Combination) คณิตศาสตร์ออนไลน์

วิธีเรียงสับเปลี่ยน และวิธีจัดหมู่ คณิตศาสตร์ออนไลน์ วิธีเรียงสับเปลี่ยน  และวิธีจัดหมู่ (Permutation and Combination)

การปฏิบัติระหว่างเซตและ สัญลักษณ์

การปฏิบัติระหว่างเซตและ สัญลักษณ์-เซตเบื้องต้น

การปฏิบัติระหว่างเซต ปฏิบัติการระหว่างเซต คือ การนำเซตต่าง ๆ มากระทำกันเพื่อให้เกิดเป็นเซตใหม่ได้ ซึ่งทำได้ 4 วิธี คือ

ประเภทของเซตและความสัมพันธ์-เซตเบื้องต้น

ประเภทของเซตและความสัมพันธ์-เซตเบื้องต้น ประเภทของเซต 1.       เซตว่าง (Empty Set) คือ เซตที่ไม่มีสมาชิกเลย เขียนแทนด้วย { } หรือ   (phi) เช่น

สับเซต และ เพาเวอร์เซต ( Subset and Power set) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

สับเซต และ เพาเวอร์เซต สับเซต (subset) หรือ “เซตย่อย”  คือ เซตที่เล็กกว่าหรือเท่ากันกับเซตที่กำหนด โดยต้องใช้สมาชิกร่วมกับเซตที่กำหนดเท่านั้น

การหารลงตัว (Divisibetity)-ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นคณิตออนไลน์

ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น การหารลงตัว (Divisibetity)                 บทนิยาม           ให้ a และ b เป็นจำนวนเต็ม โดยที่ a 0 เรากล่าวว่า

สรุปเรื่องจำนวนเชิงซ้อนเบื้องต้นคณิตศาสตร์ออนไลน์

มาดูบทสรุปการสร้างจำนวนเชิงซ้อน ( Complex Nember ) บทนิยาม  จำนวนเชิงซ้อน  คือ  คู่อันดับ (a,b)  เมื่อ  a  และ  b  เป็นจำนวนจริงและกำหนดการเท่ากัน                 การบวกและการคูณของจำนวนเชิงซ้อน  ดังนี้ สำหรับจำนวนเชิงซ้อน  (a,b)  และ  (c,d)

เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic geometry)-ระบบพิกัดฉาก คณิตศาสตร์เบื้องต้น

ระบบพิกัดฉาก ระบบกัดพิกัดฉาก พิกัด (Coordinate) ในระบบพิกัดฉาก จะมีเส้นจำนวนสองเส้นตั้งฉากตัดกันที่จุดกำเนิด (0, 0) โดยแกน x และแกน y เป็นเส้นจำนวนตามแนวนอนและแนวตั้ง ตามลำดับ

การคูณเวกเตอร์ (Multiplication of vectors)

การคูณเวกเตอร์ (Multiplication of vectors)คณิตศาสตร์ ออนไลน์

คณิตศาสตร์ -การคูณเวกเตอร์ (Multiplication of vectors) ปริมาณทางเวกเตอร์นอกจากจะนำมารวมกันได้แล้ว เรายังสมารถนำมาคูณกันได้อีกแต่ยัง ไม่พบการนำเวกเตอร์มาหารกัน ซึ่งผลจากการคูณกันของเวกเตอร์จะให้ผลลัพธ์เป็น 2 ปริมาณคือ ปริมาณที่มีเฉพาะขนาดเพียงอย่างเดียว ซึ่งเรียกว่า ผลคูณสเกลาร์ (Scalar product หรือ Dot product) กับปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง เรียกว่า ผลคูณเวกเตอร์ (Vector product หรือ Cross product)