เทคนิคเตรียมสอบ PAT2

จะติวเลขข้อสอบ PAT 1 ออกเนื้อหาอะไรบ้างและ เทคนิคเตรียมสอบ PAT1

เทคนิคเตรียมสอบ PAT1 วิชาความ ถนัดทางคณิตศาสตร์ บทไหนออก บ้าง ? ฝากเทคนิคเตรียมสอบ PAT1

ตรรกศาสตร์กับวงจรไฟฟ้า-พีชคณิตบูลีนและการเขียนวงจรตรรกะเบื้องต้น

ตรรกศาสตร์กับวงจรไฟฟ้า 2. ตรรกศาสตร์กับวงจรไฟฟ้า ตรรกศาสตร์เป็นเนื้อหาหนึ่งซึ่งค่อนข้างแห้งแล้ง จำทำให้การเรียนการสอนในชั้นเรียนเป็นเพียงการเรียนการสอนตามระบบ ตามประเพณี ทั้งที่ระบบตรรกศาสตร์มีบทประยุกต์มากมาย นอกจากจะเป็นรากฐานสำคัญที่อยู่เบื้องหลังการประดิษฐ์คอมพิวเตอร์แล้ว ตรรกศาสตร์ยังมีบทประยุกต์ที่เกี่ยวข้องกับการต่อวงจรของสวิตซ์ ซึ่งอาศัยเพียงความรู้เรื่องตรรกศาสตร์เบื้องต้นในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายก็สามารถเข้าใจได้

เลขยกกำลัง

ติวเลข-สมบัติการคูณเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

เลขยกกำลังคืออะไร ? ถ้าจำนวนที่คูณตัวเองซ้ำกันหลาย ๆ ตัว เราจะเขียนจำนวนเหล่านั้นออกมาในรูปของเลขยกกำลัง โดยจำนวนที่คูณตัวเองซ้ำ ๆ จะเรียกว่า “ฐาน” และจำนวนตัวที่คูณ จะเรียกว่า “เลขชี้กำลัง” เพื่อให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น เพื่อน ๆ ลองนึกถึงการพับกระดาษ 1 แผ่น

        <     แทนความสัมพันธ์น้อยกว่า หรือไม่ถึง           >     แทนความสัมพันธ์มากกว่า หรือเกิน และ    ≠    แทนความสัมพันธ์ไม่เท่ากับหรือไม่เท่ากัน

ติวเลขออนไลน์ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว-คลังความรู้ทางคณิตศาสตร์

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว     คุณเคยเรียนเรื่องการเขียนประโยคเกี่ยวกับจำนวนให้เป็นประโยคที่ใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์มาแล้ว เช่น ประโยค สามเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งเท่ากับหก เขียนได้เป็น 3x = 6และประโยค สองเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งมากกว่าสี่อยู่เจ็ด เขียนได้เป็น2x – 4 = 7 นอกจากนี้ยังเคยรู้จักสัญลักษณ์ต่อไปนี้

ความสัมพันธ์เชิงคณิตศาสตร์

กราฟความสัมพันธ์           วิธีการหนึ่งสำหรับการนำเสนอความสัมพันธ์โดยไม่ผ่านภาษาหรือสัญลักษณ์ของคู่อันดับคือการใช้กราฟ หรือ แผนผัง โดยที่หางลูกศรแทนสมาชิกของเซตแรกที่สัมพันธ์กับสมาชิกของเซตที่สองตรงตำแหน่งหัวลูกศรในที่นี้จะนำเสนอการใช้กราฟและแผนผังแสดงความสัมพันธ์ทวิภาคแบบเต็มหน่วยซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับการศึกษาความสัมพันธ์ของข้อมูล

เซตจำกัด เซตอนันต์ เซตที่เท่ากัน เซตว่าง และเอกภพสัมพัทธ์

เซตจำกัด เซตอนันต์ เซตที่เท่ากัน เซตว่าง และเอกภพสัมพัทธ์

เซตจำกัด เซตอนันต์ เซตที่เท่ากัน เซตว่าง และเอกภพสัมพัทธ์ เซต (Sets) หมายถึง กลุ่มสิ่งของต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น คน สัตว์ สิ่งของ หรือนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งสามารถระบุสมาชิกในกลุ่มได้ และเรียก สมาชิกในกลุ่มว่า “สมาชิกของเซต”  การเขียนเซต   การเขียนเซตนิยมใช้อักษรตัวใหญ่เขียนแทนชื่อเซต และสามารถเขียนได้ 2แบบ 1. แบบแจกแจงสมาชิกของเซต   ตัวอย่างเช่น A = {1, 2, 3, 4, 5}   B = { a, e, i, o, u} C = {…,-2,-1,0,1,2,…} 2. แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกในเซต   ตัวอย่างเช่น A = { x | x เป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5}   B =…