คณิตศาสตร์ ม.3 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อสมการ (inequality) เป็นประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของจำนวนโดยมีสัญลักษณ์ <, >, ≤, ≥ หรือ ≠ แสดงความสัมพันธ์
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อสมการ (inequality) เป็นประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของจำนวนโดยมีสัญลักษณ์ <, >, ≤, ≥ หรือ ≠ แสดงความสัมพันธ์
จำนวนตรรกยะและอตรรกยะ สมบัติของจำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็มโดยที่ b ไม่เท่ากับ 0 จำนวนตรรกยะ จำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ
อัตราส่วนและร้อยละ อัตราส่วน เราคงเคยได้ยินคำว่า เร็วกว่าถึง 3 เท่า หรือมากกว่าเดิม 2 เท่า มาก่อน ซึ่งในบทเรียนเรื่องอัตราส่วนและร้อยละ จะมาอธิบายถึงความหมายของคำดังกล่าวให้เข้าใจได้มากขึ้น รวมถึงการพูดถึงอัตราส่วนแบบที่ยากขึ้นไปอีกด้วย เรื่องนี้สามารถใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง เช่น การคิดดอกเบี้ย เป็นต้น
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 อากาศร้อนแต่ผมไม่ร้อนเพราะผมทำงานอยู่ในห้องที่มีแอร์ ก็เลยสบายแต่ผมประหยัดแอร์น่ะคับ ผมเปิดแอร์ยี่่สิบห้าองศาประหยัดไฟคับ วันนี้มีเอกสารประกอบการสอน วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นเกี่ยวกับจำนวนนับ ซึ่งจะเห็นว่าแค่เพียงจำนวนนับจำนวนเดียว มีเรื่องให้ต้องเรียนมากมาย เช่น
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Trigonometry Function) ตรีโกณมิติ (Trigonometry) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Circular Function คือ ฟังก์ชันของมุม ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษารูปสามเหลี่ยมและปรากฏการณ์ในลักษณะเป็นคาบ ฟังก์ชันอาจนิยามด้วยอัตราส่วนของด้าน 2 ด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรืออัตราส่วนของพิกัดของจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย หรือนิยามในรูปทั่วไปเช่น อนุกรมอนันต์ หรือสมการเชิงอนุพันธ์ รูปสามเหลี่ยมที่นำมาใช้จะอยู่ในระนาบแบบยุคลิดดังนั้น ผลรวมของมุมทุกมุมจึงเท่ากับ 180° เสมอ
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
เนื้อหาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษาตอนต้น คณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น คณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำหรับน้องๆที่ต้องการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เทคนิค และสูตรสำหรับการเรียน การสอบ และการประยุกต์ใช้ต่างๆ
คู่อันดับ คู่อันดับ หมายถึง การจับคู่สิ่งของสองสิ่งโดยถือลำดับเป็นสิ่งสำคัญ ถ้า a , b เป็นสิ่งของสองสิ่ง คู่อันดับ a , b เขียนแทนด้วย (a , b) เรียก a ว่า สมาชิกตัวหน้า และ b เรียกว่า สมาชิกตัวหลัง
ลำดับอนันต์และอนุกรมอนันต์ เบื้องต้น มารู้จักกับ ลำดับอนันต์และอนุกรมอนันต์ แบบแบบคร่าวๆ กันครับว่ามีกี่แบบ ลำดับอนันต์ 1. ลำดับ ( Sequence) คือ บทนิยาม ลำดับ คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก an ตัวแรกหรือเซตของจำนวนเต็มบวก และเขียนเรียงตามลำดับได้ดังนี้ f(1),f(2),f(3),…,f(n),… เรียก f(1) ว่า พจน์ (term) ที่ 1 เขียนแทนด้วย a1 เรียก f(2) ว่า พจน์ (term) ที่ 2 เขียนแทนด้วย a2 เรียก f(3) ว่า พจน์ (term) ที่ 3 เขียนแทนด้วย a3 …
ลำดับเลขคณิต ( arithmetic Sequence ) ลำดับ(Sequences) หมายถึง ตัวเลขชุดหนึ่งที่เขียนเรียงกันภายใต้กฎเกณฑ์ที่กำหนดให้ ลักษณะของลำดับมีอยู่ 2 ชนิด คือ ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์ ชนิดของลำดับที่นิยมใช้กันอยู่ 2 ชนิดคือ ลำดับเลขคณิต คือ ลำดับซึ่งผลต่างระหว่างสองพจน์ใดที่อยู่ติดกันมีค่าคงที่เสมอ ค่าคงที่เรียกว่า ผลต่างร่วม (d) เช่น 3, 8, 13,18,… โดยมีผลต่างร่วม d = 8-3 = 5 ต้องตรวจสอบในแต่ละค่าเท่ากันก่อนด้วย จึงจะแน่ใจว่าเป็นลำดับเลขคณิต ลำดับเรขาคณิต คือ ลำดับซึ่งอัตราส่วนของสองพจน์ที่อยู่ติดกันมีค่าคงที่เสมอเรียกค่าคงที่ว่า อัตราส่วนร่วม เช่น 2, 4, 8, 16,… โดยมีอัตราส่วนร่วม r = 4/2 = 2 เท่ากันทุกค่า ลำดับเลขคณิต ( arithmetic Sequence )