การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างกำลังสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างกำลังสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม
รูปหลายเหลี่ยมคล้าย รูปหลายเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน ก็ต่อเมื่อ รูปหลายเหลี่ยมสองรูปนั้นมี ขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ๆ ทุกคู่ และ อัตราส่วนของความยาวของด้านที่สมนัยกันทุกคู่เป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ความคล้าย ความคล้าย 4.1 รูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน 4.2 รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 4.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พีระมิด คือ ทรงสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลม ซึ่งไม่อยู่ในระนาบเดียวกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยม ที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลม
พื้นที่ผิวและปริมาตร บทเรียนต่างๆ – ภาคตัดกรวย – ปริมาตรทรงกรวย (animation) – สมบัติของพีระมิด – พีระมิดยอดตัด – สมบัติของพีระมิด – พื้นที่ผิวและปริมาตร – สมบัติของปริซึม – พื้นที่ผิวของปริซึม – สมบัติของปริซึม – ปริมาตรของปริซึม – เรขาคณิตพื้นฐาน – ปริมาตรและพื้นที่ผิว – การวัดและพื้นที่แบบทดสอบความรู้ – พื้นที่ผิวและปริมาตร – พื้นที่ผิวและปริมาตร – พื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวเชื่อมประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมต่างๆ โดยปกติเมื่อกล่าวถึงข้อความหรือประโยคนั้นมักจะมีกริยามากว่าหนึ่งตัว แสดงว่าได้นำประโยคมาเชื่อมกัน มากกว่าหนึ่งประโยค ดังนั้นถ้านำประพจน์มาเชื่อมกัน ก็จะได้ประพจน์ใหม่ ซึ่งสามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ตัวเชื่อมประพจน์ที่มีอยู่ 5 ตัว และตัวเชื่อมที่ใช้กันมากในตรรกศาสตร์ คือ และ หรือ ถ้าแล้ว ก็ต่อเมื่อ ไม่ กำหนดให้ p และ q เป็นประพจน์ใดๆ เราสามารถเชื่อมประพจน์ทั้งสองเข้าด้วยกันได้ โดยอาศัยตัวเชื่อมประพจน์ดังต่อไปนี้
การสร้างตารางค่าความจริง-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 ตารางเรียงลำดับคุมความของลักษณ์จากมากไปหาน้อย
คําเชื่อมภาษาอังกฤษ (conjunction) คำเชื่อมประโยคมีอะไรบ้าง
การเชื่อมประพจน์ โดยปกติเมื่อกล่าวถึงข้อความหรือประโยคนั้นมักจะมีกริยามากกว่าหนึ่งตัว แสดงว่าได้นำประโยคมาเชื่อมกัน มากกว่าหนึ่งประโยค ดังนั้นถ้านำประพจน์มาเชื่อมกัน ก็จะได้ประพจน์ใหม่ ซึ่งสามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ตัวเชื่อมประพจน์มีอยู่ 5 ตัว และตัวเชื่อมที่ใช้กันมากในตรรกศาสตร์คือ และ หรือ ถ้า…แล้ว ก็ต่อเมื่อ ไม่