linear programming

รูปแบบง่ายที่สุดของกำหนดการเชิงเส้น-กำหนดการเชิงเส้น (linear programming) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

รูปแบบง่ายที่สุดของกำหนดการเชิงเส้น                ลักษณะของรูปแบบง่ายที่สุดของกำหนดการเชิงเส้น

กำหนดการเชิงเส้น (Linear programming)-กำหนดการเชิงเส้นโดยวิธีการใช้กราฟ

กำหนดการเชิงเส้นโดยวิธีการใช้กราฟ            ในการแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้นนั้นต้องเริ่มต้นด้วยการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ  

กำหนดการเชิงเส้น (linear programming)-แบบจำลองทางคณิตศาสตร์

แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (Mathematical model) ความคิดพื้นฐาน และเทคนิคของกำหนดการเชิงเส้นช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์หรือประสิทธิภาพสูงสุดแก่ผู้ตัดสินใจนั้น แสดงว่า การแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้นจึงเกี่ยวกับการหาค่าต่ำสุด หรือสูงสุดภายใต้เงื่อนไขข้อบังคับ โดยการนำเอาเงื่อนไขข้อบังคับมาสร้างในรูปแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น

สรุปสูตร จำนวนเชิงซ้อน(COMPLEX NEMBER )

สรุปสูตร จำนวนเชิงซ้อนสรุปสูตรจำนวนเชิงซ้อน ( COMPLEX NEMBER ) ในหัวข้อ จำนวนเชิงซ้อน นี้จะอธิบายถึงพื้นฐานของจำนวนเชิงซ้อน การประยุกต์ใช้จำนวนเชิงซ้อน และกระบวนการต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับ จำนวนเชิงซ้อน ซึ่งหัวใจของบทนี้ คือ การเข้าใจหน่วยจินตภาพ ( Imaginary Unit ) ซึ่งในเรื่องจำนวนเชิงซ้อนนี้ มีการนำไปประยุกต์ใช้กับหัวข้อต่าง ๆ เช่น ตรีโกณมิติ จำนวนจริง และมีการใช้งานในอีกหลาย ๆ ส่วนที่ยังไม่ได้มีในหลักสูตรปัจจุบัน

รวมศัพท์ภาษาอังกฤษ บวก ลบ คูณ หาร และการคิดเลข

รวมศัพท์ภาษาอังกฤษ บวก ลบ คูณ หาร และการคิดเลข ทางคณิตศาสตร์ ที่น่าสนใจ

รวมศัพท์ ทางคณิตศาสตร์ ที่น่าสนใจคำศัพท์ภาษาอังกฤษ บวก ลบ คูณ หาร และการคิดเลข 

สรุปสูตร ลอการิทึม ( Logarithm function )

สรุปสูตร สมบัติของลอการิทึม-คณิตศาสตร์ม.ปลาย

เทคนิคการทำโจทย์และจำสูตร สมบัติของลอการิทึม ช่วยให้สามารถทำโจทย์ได้เร็วมากขึ้นซึ่งมีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 8 ข้อ และในการทำโจทย์ลอการิทึม นอกจากจะต้องแม่นยำเรื่องของเลขยกกำลังแล้ว ยังต้องแม่นเรื่องสมบัตของลอการิทึมอีกด้วย สรุปสูตร สมบัติของลอการิทึม

การหาจำนวนเฉพาะ

คณิตศาสตร์เบื้องต้น-จํานวนเฉพาะ ทางคณิตศาสตร์

“จำนวนเฉพาะ” หรือ ไพรม์ นัมเบอร์ (Prime number) คือ จำนวนธรรมชาติที่มีตัวหารที่เป็นบวกอยู่ 2 ตัว คือ 1 กับตัวมันเอง เช่น 2, 3, 5, 7, 11, 13 และ 17 เป็นต้น และสำหรับเลข 1 นั้น ให้ตัดทิ้ง เพราะ 1 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ

โครงสร้างของระบบจำนวน -จำนวนจริง ( REAL NUMBER )

โครงสร้างของระบบจำนวน เป็นหนึ่งในเรื่องของระบบจำนวน โดยในหัวข้อนี้เราจะศึกษาเพียงจำนวนจริงเท่านั้น ไม่พิจารณาจำนวนจินตภาพ โดยหัวข้อนี้ถือเป็นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่สามารถนำไปต่อยอดในหัวข้อต่าง ๆ ได้ เพราะเรื่องจำนวนจริง มีการประยุกต์ใช้และเป็นข้อสอบ

หาดีเทอร์มิแนนต์

สรุปสูตร สมบัติของดีเทอร์มิแนนต์ คณิตศาสตร์ออนไลน์-เมทริกซ์

สมบัติของดีเทอร์มิแนนต์ สรุปสูตรดีเทอร์มิแนนต์ ดีเทอร์มิแนนต์ (Determinant) คือ ค่าของตัวเลขที่สอดคล้องกับเมทริกซ์จัตุรัส ถ้า A เป็นเมทริกซ์จัตุรัส จะเขียนแทนดีเทอร์มิแนนต์ของ A ด้วย det(A) หรือ  โดยทั่วไปการหาค่าดีเทอร์มิแนนต์ที่เจอในข้อสอบจะไม่เกินเมทริกซ์ 3×3 เพราะถ้ามากกว่า 3 แล้ว จะเริ่มมีความยุ่งยาก  ค่าของดีเทอร์มิแนนต์จะเป็นจำนวนจริงและมีเพียงค่าเดียวเท่านั้นที่จะสอดคล้องกับเมทริกซ์จัตุรัส เช่น เมทริกซ์ B ก็จะมีค่าดีเทอร์มิแนนต์เพียงค่าเดียวเท่านั้น