กราฟของความสัมพันธ์

กราฟของความสัมพันธ์-คณิตศาสตร์ออนไลน์

บทนิยามกราฟของความสัมพันธ์ ให้ r เป็นสับเซตของ RxR กราฟของความสัมพันธ์ r คือ เซตของจุดในระนาบที่แสดงคู่อันดับที่เป็นสมาชิกของความสัมพันธ์ อธิบายง่ายๆ คือ เมื่อเรามีความสัมพันธ์ซึ่งอยู่ในรูปของคู่อันดับอยู่แล้วและสามารถนิยามเชิงจำนวนได้ เราสามารถนำมาพลอตเป็นกราฟของความสัมพันธ์ได้ ในระบบพิกัดฉากได้ในรูปแบบ โดเมนเปรียบเสมือน x บนระบบพิกัดแกน และ เรจน์เปรียบเหมือน y

การคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

การคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

การคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก การคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก สมบัติของการคูณเลขยกกำลัง 

หารร่วมมาก

ห.ร.ม. และการนำไปใช้-คณิตศาสตร์ออนไลน์

ห.ร.ม. และการนำไปใช้ ห.ร.ม. หรือ หารร่วมมากกันเป็นอย่างดี  ในทางคณิตศาสตร์ หารร่วมมากมีประโยชน์อย่างไร ตามมาดูกันเลย           ห.ร.ม. มีประโยชน์กับวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่อง เศษส่วน และการแก้โจทย์ปัญหา แต่ในบทความนี้    จะเป็นการนำประโยชน์ ห.ร.ม. ในเรื่อง เศษส่วน คือ การทำเศษส่วนให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ โดยการหา     ห.ร.ม. ด้วยวิธีการตั้งหารหรือการหารสั้น หารร่วมมาก (ห.ร.ม)  คือ จำนวนเต็มที่มากที่สุดที่สามารถนําไปหารจำนวนตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไปพร้อมกันได้ลงตัวทั้งหมด

คูณร่วมน้อยและการนำไปใช้

คูณร่วมน้อยและการนำไปใช้-คณิตศาสตร์ออนไลน์

คูณร่วมน้อยและการนำไปใช้ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) คือ ตัวคูณร่วม (หรือพหุคูณร่วม) ที่มีค่าน้อยที่สุด ที่จำนวนนับชุดใด(ตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป) ไปหารได้ลงตัว เช่น ค.ร.น. ของ 8 และ 12 คือ 24 เพราะ 24 คือจำนวนที่น้อยมากที่สุดที่ถูกทั้ง 8 และ 12 หารลงตัว วิธีการหา ค.ร.น. ตัวอย่าง จงหา ค.ร.น. ของ 4, 8 และ 12 มีด้วยกัน 3 วิธีดังนี้ 1. พิจารณาพหุคูณ พหุคูณของ 4 คือ 4, 8, 12, 16, 20, 24,… พหุคูณของ 8 คือ 8, 16, 24, 32, 40,… พหุคูณของ 12 คือ…

ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและตรีโกณมิติ

ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและตรีโกณมิติ สามเหลี่ยมที่คล้ายกัน รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะเรียกว่าคล้ายกัน ถ้ารูปหนึ่งสามารถขยายได้เป็นอีกรูปหนึ่ง และจะเป็นกรณีนี้ก็ต่อเมื่อมุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน ตัวอย่างเช่น รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีมุมร่วมกันมุมหนึ่ง และด้านที่ตรงข้ามกับมุมนั้นขนานกัน เป็นข้อเท็จจริงว่ารูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ด้านแต่ละด้านจะเป็นสัดส่วนกัน นั่นคือ ถ้าด้านที่ยาวที่สุดของรูปสามเหลี่ยมหนึ่ง ยาวเป็นสองเท่าของด้านที่ยาวที่สุดของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน จะกล่าวได้ว่า ด้านที่สั้นที่สุดจะยาวเป็นสองเท่าของด้านที่สั้นที่สุดของอีกรูปสามเหลี่ยม และด้านที่ยาวปานกลางก็จะเป็นสองเท่าของอีกรูปสามเหลี่ยมเช่นกัน อัตราส่วนระหว่างด้านที่ยาวที่สุดและด้านที่สั้นที่สุดของรูปสามเหลี่ยมแรก จะเท่ากับ อัตราส่วนระหว่างด้านที่ยาวที่สุดและด้านที่สั้นที่สุดของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปด้วย